1 / 31

การประชุมชี้แจงการดำเนินการจัดลูกจ้างชั่วคราว เข้าสู่ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข

การประชุมชี้แจงการดำเนินการจัดลูกจ้างชั่วคราว เข้าสู่ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข วันที่ 8 พฤศจิกายน 2556. หัวข้อการชี้แจง. สถานการณ์เงินบำรุง / ข้อมูลลูกจ้างชั่วคราว หนังสือชะลอการจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข

blake-greer
Download Presentation

การประชุมชี้แจงการดำเนินการจัดลูกจ้างชั่วคราว เข้าสู่ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมชี้แจงการดำเนินการจัดลูกจ้างชั่วคราวเข้าสู่ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุขการประชุมชี้แจงการดำเนินการจัดลูกจ้างชั่วคราวเข้าสู่ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขวันที่ 8 พฤศจิกายน 2556

  2. หัวข้อการชี้แจง • สถานการณ์เงินบำรุง / ข้อมูลลูกจ้างชั่วคราว • หนังสือชะลอการจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข • การดำเนินการที่ผ่านมาของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ • ขั้นตอน / แผนดำเนินการจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข • สิทธิประโยชน์ของพนักงานกระทรวงสาธารณสุข / ลูกจ้างชั่วคราว

  3. สถานการณ์เงินบำรุงกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์สถานการณ์เงินบำรุงกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปี 2556 รายรับปี 2556 350 ล้านบาท รายจ่ายเงินบำรุง ปี 2556 280 ล้านบาท รายจ่ายค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว ปี 2556 120 ล้านบาท คาดการณ์รายจ่ายค่าจ้าง พกส. 180 ล้านบาท (52%) ใช้เป็นรายจ่ายค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราวประมาณ 34 %

  4. กราฟแสดงรายรับเงินบำรุงเปรียบเทียบกับรายจ่ายค่าจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุขกราฟแสดงรายรับเงินบำรุงเปรียบเทียบกับรายจ่ายค่าจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข และรายจ่ายค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง ข้อมูลค่าใช้จ่าย พกส. ที่นำเสนอเมื่อเดือนกรกฎาคม 2556

  5. จำนวนลูกจ้างชั่วคราวกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จำนวนลูกจ้างชั่วคราวกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ณ 1 พฤศจิกายน 2556 คงเหลือ 859 อัตรา

  6. หนังสือกระทรวงสาธารณสุข ว 815 ลงวันที่ 23 กันยายน 2556 เรื่อง ชะลอการจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข สาระสำคัญ 1. ให้จัดทำกรอบอัตรากำลังคนในภาพรวมให้แล้วเสร็จ ภายใน 31 ตุลาคม 2556 2. บริหารจัดการ ภายใต้กรอบวงเงินไม่เกินร้อยละ 10 ของยอดค่าใช้จ่ายที่เป็นค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราวในภาพรวม ณ 1 พฤษภาคม 2556 3. ให้คัดเลือกลูกจ้างชั่วคราว เข้าสู่ พกส. โดยคำนึงถึงประสิทธิภาพ 4. ยกเลิกบัญชีอัตราค่าจ้างเดือนมกราคม ปี 2557 5. ผู้ที่ไม่ผ่านการประเมิน / ไม่แสดงเจตนา ให้จ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราวต่อไป

  7. การดำเนินการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์การดำเนินการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณากำหนดกรอบอัตรากำลังของกรม 2. กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณากรอบ พกส. และคำนวณวงเงินสำหรับจ้าง 3. จัดทำกรอบอัตรากำลังเสนอคณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 4. คณะกรรมการ ฯ อนุมัติกรอบ พกส. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

  8. หนังสือกระทรวงสาธารณสุข ว 974 ลงวันที่ 5 พฤศจิกายน 2556 เรื่อง การจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข สาระสำคัญ 1. อนุมัติกรอบอัตรากำลัง และกรอบวงเงินไม่เกินร้อยละ 10 ของยอดค่าใช้จ่ายที่เป็นค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2. ให้พนักงานกระทรวงสาธารณสุขที่ได้รับการจ้าง ได้รับค่าจ้างไม่น้อยกว่าเดิม 3. การดำเนินการจัดทำสัญญาจ้าง พกส. ให้มีผลย้อนหลังไปตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2556 4. ให้ส่วนราชการดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 30 พ.ย. 56

  9. สาระสำคัญ (ต่อ) 5. กรณีขาดคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง เช่น วุฒิไม่ตรงตามตำแหน่งที่จ้างให้เสนอกรม พิจารณายกเว้นคุณสมบัติ 6. กรณีลูกจ้างชั่วคราวไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการประเมินเข้าสู่ตำแหน่งให้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการที่กรมแต่งตั้ง และผลการพิจารณาของ คกก. ให้ถือเป็นที่สุด

  10. การคำนวณกรอบวงเงินไม่เกินร้อยละ 10 • เงินสมทบประกันสังคม ร้อยละ 5 • เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ร้อยละ 3 • จำนวนเงินเพิ่มค่าจ้างให้ผู้ผ่านประเมินเข้าสู่ พกส. กระทรวง ฯ ให้บริหารวงเงินในภาพรวมของกรม

  11. หลักเกณฑ์เงื่อนไขการกำหนดกรอบอัตรากำลัง พกส. 1. ตำแหน่งที่จะกำหนดเป็นกรอบ พกส. แบ่งเป็น 3 กลุ่มกลุ่มที่1 ภารกิจหลัก- นวพ. , นทพ. , นฟส. , พยาบาล , นวก. สธ. , นวก. เกษตร (ได้รับค่าจ้างเพิ่มร้อยละ 4 ) กลุ่มที่ 2 ภารกิจสนับสนุนที่เป็นสายงานขาดแคลนและมีความจำเป็น (ได้รับค่าจ้างเพิ่มร้อยละ 2)กลุ่มที่3 ตำแหน่งที่นอกเหนือจากกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ให้เป็น พกส. ได้โดยไม่เพิ่มค่าจ้าง แต่ได้รับสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ของ พกส. 2. ผ่านการประเมินเข้าสู่ตำแหน่ง พกส. (ได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป) 3.ปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2556 ไม่น้อยกว่า 6 เดือน 4. มีผลการประเมินผลการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2556 และได้รับการเพิ่มค่าจ้างประจำปี

  12. บัญชีรายละเอียดการจัดกลุ่มตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

  13. แผนภาพขั้นตอนการดำเนินการจัดลูกจ้างชั่วคราวเข้าสู่ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุขแผนภาพขั้นตอนการดำเนินการจัดลูกจ้างชั่วคราวเข้าสู่ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ปรับค่าจ้างประจำปีตามผลการปฏิบัติงานประจำปี 2556 - ไม่ได้เพิ่มค่าจ้าง 1 ต.ค. 55 - ไม่ได้เพิ่มค่าจ้าง 1 ต.ค. 56 ได้เพิ่มค่าจ้าง ไม่สมัครเป็น พกส. สมัครเป็น พกส. จ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราว(สัญญาจ้าง 1 ปี) จ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราว (สัญญาจ้าง 1 ปี) มีผลการประเมินเข้าสู่ ตน. พกส. ร้อยละ 70 ขึ้นไป ไม่ผ่านการประเมินเป็น พกส. ผ่านการประเมินเป็น พกส. จ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราว (สัญญาจ้าง 1 ปี) ทำสัญญาจ้าง 4 ปี

  14. กรณีผ่านการประเมินเป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุขกรณีผ่านการประเมินเป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ทำสัญญาจ้าง 4 ปี (1 ตุลาคม 2556 - 30 กันยายน 2560) กลุ่มที่ 1 ภารกิจหลัก กลุ่มที่ 2 ภารกิจสนับสนุนที่เป็นสายงานขาดแคลนและมีความจำเป็น กลุ่มที่ 3 ภารกิจสนับสนุนภารกิจหลัก และภารกิจสนับสนุน ได้รับค่าจ้างเพิ่ม ร้อยละ 4 ได้รับค่าจ้างเพิ่ม ร้อยละ 2 ไม่ได้เพิ่มค่าจ้างแต่ได้รับสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ พกส. ค่าจ้างที่เพิ่มขึ้น ได้เฉพาะแรกเข้า พกส. ณ 1 ตุลาคม 56 เท่านั้น

  15. ตัวอย่างการคำนวณเงินค่าจ้าง พกส. กรณีตำแหน่งกลุ่มที่ 1 เช่น นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มค่าจ้างประจำปี 2556ระดับดีมากได้ค่าจ้างเพิ่มร้อยละ 4 10,660 * 4%= 426.4ปัดเศษ เป็น 430 บาท รวมเป็น 10,660 + 430 = 11,090 บาท ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว10,660 บาท เพิ่มค่าจ้าง พกส. ร้อยละ 4 11,090 * 4% = 443.6 ปัดเศษ เป็น 450 บาท เพราะฉะนั้นได้รับค่าจ้าง พกส. เท่ากับ 11,090 + 450 = 11,540 บาท

  16. ตัวอย่างการคำนวณเงินค่าจ้าง พกส. กรณีตำแหน่งกลุ่มที่ 2 เช่น เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี เพิ่มค่าจ้างประจำปี 2556ระดับดีได้ค่าจ้างเพิ่มร้อยละ 2 8,440 * 2%= 168.8ปัดเศษ เป็น 170 บาท รวมเป็น 8,440 + 170 = 8,610 บาท ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว8,440 บาท เพิ่มค่าจ้าง พกส. ร้อยละ 2 8,610 * 2% = 172.2 ปัดเศษ เป็น 180 บาท เพราะฉะนั้นได้รับค่าจ้าง พกส. เท่ากับ 8,610 + 180 = 8,790 บาท

  17. ตัวอย่างการคำนวณเงินค่าจ้าง พกส. กรณีตำแหน่งกลุ่มที่ 3 เช่น คนงานห้องทดลอง เพิ่มค่าจ้างประจำปี 2556ระดับดีมากได้ค่าจ้างเพิ่มร้อยละ 4 6,300 * 4%= 252ปัดเศษ เป็น 260 บาท รวมเป็น 6,300 + 260 = 6,560 บาท ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว6,300 บาท ไม่ได้เพิ่มค่าจ้าง พกส. ดังนั้น ได้รับค่าจ้าง พกส. เท่ากับ 6,560 บาท

  18. แผนดำเนินการ

  19. ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง สิทธิประโยชน์ของพนักงานกระทรวงสาธารณสุขทั่วไป พ.ศ. 2556

  20. สิทธิประโยชน์การลา การลาพักผ่อน การลาป่วย การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์ การลาคลอดบุตร การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัยในประเทศ การลากิจส่วนตัว หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการลาให้เป็นไปตามที่ กพส. กำหนด การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล

  21. สิทธิประโยชน์อื่น ๆ ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ค่าเบี้ยประชุม ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม • พนักงานกระทรวงสาธารณสุขผู้ใดถึงแก่ความตายในระหว่างรับราชการ • ได้รับเงินช่วยพิเศษจำนวน 3 เท่า ของค่าจ้าง • หากตายระหว่างละทิ้งหน้าที่ราชการ ห้ามมิให้จ่ายเงินช่วยพิเศษ

  22. ตารางเปรียบเทียบ ข้าราชการ พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณสุข

  23. เปรียบเทียบ ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

  24. เปรียบเทียบ ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

  25. เปรียบเทียบ ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

  26. เปรียบเทียบ ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

  27. เปรียบเทียบ ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

  28. เปรียบเทียบ ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

  29. เปรียบเทียบ ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

  30. สิทธิการลา / สิทธิประโยชน์ลูกจ้างชั่วคราว สิทธิการลาประเภทต่างๆ 1. ลาป่วย 15 วันทำการ (ปีแรก 8 วันทำการ) 2. ลากิจ ลาได้แต่ไม่ได้รับค่าจ้าง 3. ลาพักผ่อน 10 วันทำการ 4. ลาคลอดบุตร 90 วัน (รับค่าตอบแทน 45 วันและรับจากประกันสังคมตามกฎหมาย) 5. ลาเพื่อรับการตรวจเลือก6. ลาอุปสมบท ลาได้แต่ไม่ได้รับค่าจ้าง7. ลาฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติงานวิจัย สิทธิประโยชน์ - ค่าตอบแทนนอกเวลาราชการ - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ - ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม - สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ จากประกันสังคม - ไม่มีสิทธิรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ - สัญญาจ้าง 1 ปี- เกษียณอายุ 60 ปี- ไม่มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

  31. ติดต่อสอบถามฝ่ายการเจ้าหน้าที่ สำนักงานเลขานุการกรม งานสรรหา (ศิริวรรณ) 99062 งานอัตรากำลัง (สุจิตรา) 99063sujitra.k@dmsc.mail.go.th

More Related