140 likes | 295 Views
กลุ่ม 5 การเข้าถึงบริการสุขภาพ. สมาชิกลุ่มผู้ร่วมอภิปราย. สสจ. อุบลราชธานี สสจ. หนองคาย สำนักวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ มูลนิธิ ศุภ นิมิต มูลนิธิรักษ์ไทย USAID SDA MAP.
E N D
กลุ่ม 5การเข้าถึงบริการสุขภาพ
สมาชิกลุ่มผู้ร่วมอภิปรายสมาชิกลุ่มผู้ร่วมอภิปราย • สสจ.อุบลราชธานี • สสจ.หนองคาย • สำนักวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย • มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ • มูลนิธิศุภนิมิต • มูลนิธิรักษ์ไทย • USAID • SDA • MAP
1.ประชากรข้ามชาติ และบุคคลอื่นที่ไม่มีสัญชาติไทย ที่มีช่องว่างต่อการบริการ คือ.... • คนไร้รัฐ คนที่อยู่ในแผ่นดินไทย ไม่มีเลข 13 หลัก ถือบัตรขึ้นต้นด้วยเลข 0 • ผู้ลี้ภัย • นักท่องเที่ยวต่างชาติ • บุคคลนอกเหนือจาก 3 สัญชาติ เช่น บังคลาเทศ โรฮิงญา เวียดนาม
2.จุดอ่อนในการบริการฯ สำหรับประชากรในข้อ 1 มี.... ด้านนโยบาย • มีนโยบายแต่ไม่มีการปฏิบัติระดับพื้นที่ • ผู้ถือกฎหมายตีตรา ตีสถานะว่าผิดกฎหมาย กับแรงงานหากไม่ขึ้นทะเบียน • ไม่มีการเปิดทำบัตรให้กับแรงงานคนใหม่ มีแต่เฉพาะแรงงานที่มี ทร38/1 • ค่าใช้จ่ายสูง ด้านระบบบริการ • ไม่มีพนักงานสาธารณสุขต่างด้าว อาสาสมัครต่างด้าวประจำสถานบริการด้านสุขภาพ • เอกสาร บัตรสุขภาพแรงงานเป็นภาษาไทย ระบบฐานข้อมูล ระบบประชาสัมพันธ์ • ขาดการประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย • ไม่มีการประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง
จุดอ่อน ต่อ.... นายหน้า • ผลประโยชน์ทับซ้อน • เก็บค่าใช้จ่ายสูง นายจ้าง • ไม่พาแรงงานไปดำเนินการ • ยึดบัตร • สวมสิทธิ์ พาแรงงานใหม่มาสวมสิทธิแรงงานที่ย้ายออกไป แรงงาน • ย้ายที่ทำงานบ่อย • ไม่มีข้อมูล ไม่รู้ขั้นตอนการซื้อบัตร • ไม่เห็นประโยชน์ของสิทธิ์บัตร
3. ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงบริการ มี.... สิทธิบัตร สิทธิประโยชน์ คนละมาตรฐานกับคนไทย ระบบประกันสังคม • ไม่มีบริการส่งเสริมสุขภาพ • ไม่มีการป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก • VCCT STI ไม่มีการจัดบริการให้กับแรงงาน ระบบบริการ • โน้มน้าวบังคับทำหมันหญิงหลังคลอดในหญิงติดเชื้อ HIV , หญิงบริการ • ไม่มีอาสาสมัครสาธารณสุขข้ามชาติ • การสื่อสาร ไม่มีล่าม ไม่มีสื่อภาษาแรงงาน
ความไม่เท่าเทียม ต่อ.... มาตรฐานบริการ • เก็บค่าตรวจ VCCT • เข้าไม่ถึงยาต้าน • ตรวจรักษา STI ต้องเสียเงิน NGO ทำงานไม่ครอบคลุมพื้นที่ ที่มีแรงงานอาศัยอยู่
4.อุปสรรคในการเชื่อโยงของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มี.... • ขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงาน สสจ. ตม. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พมจ.ปกส. รพ. รพ.สต. ภาคประชาสังคม • แต่ละหน่วยงานยึดแนวปฏิบัติมีของตัวเองเป็นหลัก ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งต่อกัน conflict policy • ผู้ปฏิบัติงานไม่เพียงพอ งานเยอะคนน้อย • หน่วยงานภาคประชาสังคมทำงานไม่ครอบคลุมพื้นที่ • รัฐบาลไทยไม่มีนโยบายระยะยาว • ไม่มีแผนแม่บทที่ชัดเจนกับแรงงานข้ามชาติ • รัฐไม่มีงบประมาณสนับสนุนในภาคประชาสังคมทำงานกับแรงงานข้ามชาติ • เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติตามนโยบาย • การสื่อสาร ไม่มีล่าม ไม่มีสื่อภาษาแรงงาน
5.ข้อคิดเห็นต่อบัตรประกันสุขภาพ 2200…. แรงงานซื้อ เพราะ.... • เห็นถึงสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ • ต้องการมีหลักประกันด้านสุขภาพให้กับตนเองและครอบครัว แรงงานไม่ซื้อ เพราะ... • แพง ไม่มีเงิน • สบายดี ไม่เจ็บป่วย บัตรจึงไม่มีประโยชน์ ไม่มีความจำเป็น • เข้าไม่ถึงการประชาสัมพันธ์ • จนท.รัฐ ขาดความเข้าใจ ขาดความรู้ ไม่บอกประโยชน์ของบัตรกับแรงงาน
การแก้ไข • ระดับนโยบายที่ขัดแย้งกัน แรงงานเข้าไม่ถึงบริการ และมีนโยบายแต่ไม่นำมาปฏิบัติในพื้นที่ • กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา จัดเวทีพูดคุยหาข้อกำหนดร่วมกันในระดับประเทศ /เปิดจุดร้องเรียน /กำหนดตรวจตัวชี้วัดของผู้ตรวจ • ผู้รับผิดชอบ (หลัก กระทรวงแรงงาน / องค์ระหว่างประเทศ / และคณะทำงาน รัฐบาลไทย/คณะทำงานระดับประเทศ/จังหวัด/ภาคธุรกิจต่างๆ/สหภาพแรงงาน/คระกรรมการเอดส์ชาติ • บทบาทหน้าที่ • ผู้ออกกฏหมายระหว่างประเทศ/ภาคประชาสังคม(NGO)
การแก้ไข งานด้านการบริการ • ปัญหา ไม่มีล่าม /แรงงานเข้าไม่ถึงข้อมูล • กิจกรรมเพื่อแก้ไข จัดให้มีการจ้างล่ามภาษาแรงงาน (พสต.)/ จัดให้มีสื่อภาษาแรงงานและเอกสารภาษาแรงงาน / Hotline ภาษาต่างๆภายในจังหวัด /ให้มีสื่อตัวหนังสือวิ่งหลายภาษาในสถายบริการ • ผู้รับผิดชอบ สาธารณสุขหรือสถานบริการสุขภาพ และสำนักงานประกันสังคม • บทบาทหน้าที่
การแก้ไข • ปัญหา นายจ้าง ไม่พาแรงงานไปดำเนินการทำบัตร • กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา ผู้บังคับใช้กฎหมายต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดชัดเจน และกำหนดมาตราการให้นายจ้างปฏิบัติอย่างชัดเจน สร้างแรงจูงใจโดยการมอบเกียรติบัตรโรงงานดีเด่นหรือให้การลดหย่อนภาษี • ผู้รับผิดชอบ ตำรวจ ประกันสังคม จัดหางาน นายจ้าง • บทบาทหน้าที่
การแก้ไข • ปัญหา ตัวแรงงาน • กิจกรรมเพื่อแก้ไข ให้ข้อมูลอย่างทั่วถึง เปิดโอกาสให้คใหม่ขึ้นทะเบียนตลอดเวลา กระทรวงแรงงานให้ความรู้เรื่องสิทธิก่อนแรงงานขึ้นทะเบียนหรือเข้ามาทำงานในประเทศ • ผู้รับผิดชอบ • บทบาทหน้าที่
ท้ายสุด.....ความร่วมมือในกลุ่มท้ายสุด.....ความร่วมมือในกลุ่ม • คุณฐิติยา สามารถ มูลนิธิศุภนิมิต ผู้ดำเนินรายการ • คุณเพ็ญนภา คงดี มูลนิธิรักษ์ไทย ผู้บันทึกข้อมูล • คุณพรเทพ ทิพยสุทธิ์สสจ.หนองคาย ผู้นำเสนอ ขอขอบคุณ และ สวัสดีครับ