300 likes | 786 Views
โลกาภิวัตน์ ประชาคมอาเซียน และทิศทางการศึกษาไทย. ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. Good Morning. How are you today?. Good morning Salamat Paki หนี ห่าว สะบายดี. ทิศทางของกระแสโลก (Globalization).
E N D
โลกาภิวัตน์ ประชาคมอาเซียน และทิศทางการศึกษาไทย ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Good Morning.How are you today? • Good morning • Salamat Paki • หนี ห่าว • สะบายดี
ทิศทางของกระแสโลก(Globalization)ทิศทางของกระแสโลก(Globalization) • ภาษาอังกฤษจะมีความสำคัญมากขึ้น • Internet ( 80% ของ Websites ใช้ภาษาอังกฤษ) • การค้าระหว่างประเทศใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก • เพลง, ภาพยนตร์, กีฬา, การศึกษา ใช้ภาษาอังกฤษ • วัฒนธรรมตะวันตก(Anglo-American Culture) จะ แผ่ขยายอย่างรวดเร็ว • เงินตรา, เพลง, ภาพยนตร์, CNN • McDonald, Coca Cola
ทิศทางอาเซียน (ASEAN VISION) • ความเป็นมา • เป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • บทบาทของการศึกษา
การเริ่มต้นของอาเซียนการเริ่มต้นของอาเซียน ประชาคมเพื่อประชาชน
ปฏิญญากรุงเทพ(Bangkok Declaration) Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดย ปฏิญญากรุงเทพ เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)
วัตถุประสงค์ของอาเซียนวัตถุประสงค์ของอาเซียน เร่งรัดความเจริญด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก (อาเซียน) และองค์การระหว่างประเทศต่างๆ
ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน(Bali Concord) เป้าหมาย:สร้างประชาคมอาเซียน ภายในปี ค.ศ. 2015 (2558) โดยมี 3 เสาหลัก คือ • ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community: ASC) • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) • ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) • เป็นธรรมนูญอาเซียน ( 15 มกราคม 2551) • เป็นข้อผูกพันทางกฎหมาย (Legal Binding) • ใช้ในการกำหนดกรอบ และแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือของอาเซียน • กำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ (Working Language) ของอาเซียน
เสาหลักความร่วมมือของอาเซียนเสาหลักความร่วมมือของอาเซียน ๑. ด้านการเมืองและความมั่นคง ๒. ด้านเศรษฐกิจ ๓. ด้านสังคมและวัฒนธรรม
เสาสังคม วัฒนธรรม เสาเศรษฐกิจ เสาการเมือง ความมั่นคง
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงประชาคมการเมืองและความมั่นคง • เพื่อให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี ร่วมสร้างสังคมประชาธิปไตย • ร่วมกันเผชิญหน้าภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การก่อการร้าย ยาเสพย์ติด การค้ามนุษย์ • มีปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอกอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจ • เพื่อให้ภูมิภาคมีความมั่งคั่ง มั่นคงทางเศรษฐกิจ และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นได้ • ทำให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน • เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน และเงินทุน พัฒนาฝีมือแรงงาน และให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี • เชื่อมสัมพันธ์เศรษฐกิจอาเซียนกับเศรษฐกิจโลก
ประชาสังคมและวัฒนธรรมประชาสังคมและวัฒนธรรม • เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน • สร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอาเซียน • สร้างประชาสังคมที่เอื้ออาทร • ส่งเสริมความยั่งยืนเรื่องสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับรากหญ้า
จีน พม่า ลาว EWEC เวียดนาม ไทย กัมพูชา ช่องแคบมะละกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ช่องแคบซุนด้า ช่องแคบลอมบ็อค แหล่งที่มาของข้อมูล : www.thai-canal.com
บทบาทของการศึกษาเพื่อบรรลุเป้าหมาย: ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน • ด้านการเมืองและความมั่นคง • สร้างความเข้าใจและความตระหนักเรื่องกฎบัตรอาเซียน • เน้นประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนและสันติภาพในหลักสูตร • เข้าใจและตระหนักในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณีและความเชื่อ • ประชุมผู้นำโรงเรียน(Southeast Asia School Principals’ Forum) อย่างสม่ำเสมอ
บทบาทของการศึกษาเพื่อบรรลุเป้าหมาย: ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน • ด้านเศรษฐกิจ • พัฒนากรอบทักษะ(Skill Framework) ในแต่ละประเทศ • แลกเปลี่ยนนักเรียนนักศึกษา • สนับสนุนการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือ (Skilled Labors) • พัฒนามาตรฐานด้านอาชีพเพื่อนำไปสู่การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
บทบาทของการศึกษาเพื่อบรรลุเป้าหมาย: ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน • ด้านสังคมแลวัฒนธรรม • พัฒนาเนื้อหาสาระร่วมเกี่ยวกับอาเซียนสำหรับโรงเรียน • ให้มีหลักสูตรปริญญาด้านศิลปวัฒนธรรมอาเซียน • ให้มีภาษาอาเซียนเป็นวิชาเลือกในโรงเรียน • ส่งเสริมกิจกรรมเยาวชน เช่น การทัศนศึกษา การแลกเปลี่ยน ประกวดสุนทรพจน์ โรงเรียนสีเขียวอาเซียน เฉลิมฉลองวันอาเซียน( 8 สิงหาคม) ร้องเพลงอาเซียน(ASEAN Anthem) • จัดประชุมวิจัยการศึกษาอาเซียน
ความพร้อมของประเทศสมาชิก: ทัศนคติและการตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำรวจนักศึกษา 2,170คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน
คุณรู้สึกว่าเป็นประชาชนอาเซียนมากน้อยเพียงใด % ที่ตอบว่า มาก ถึง มากที่สุด
คุณคุ้นเคยเกี่ยวกับอาเซียนแค่ไหน % ที่ตอบว่า ค่อนข้างมาก ถึง มาก
ความรู้เกี่ยวกับวัน/เวลาก่อตั้งอาเซียน: %ที่ตอบถูกต้อง
ความรู้เกี่ยวกับธงอาเซียน:%ที่ตอบถูกต้องความรู้เกี่ยวกับธงอาเซียน:%ที่ตอบถูกต้อง
คุณอยากรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนอื่นๆมากแค่ไหน:%ที่ตอบว่า อยากรู้มาก ถึง มากที่สุด
ประเทศไทยจะได้ประโยชน์อะไรจากอาเซียนประเทศไทยจะได้ประโยชน์อะไรจากอาเซียน • มีความมั่นคงทางการเมือง • เพิ่มการค้า ลดต้นทุนการผลิต (ภาษี 0%) • แก้ไขปัญหาทางสังคม เช่น สารเสพติด โรคระบาด สิ่งแวดล้อม การค้ามนุษย์ อาชญากรรมข้ามชาติ • เพิ่มอำนาจต่อรองกับคู่เจรจาภายนอกอาเซียน
ประเทศไทยจะเสียประโยชน์อะไรให้อาเซียนประเทศไทยจะเสียประโยชน์อะไรให้อาเซียน • การเคลื่อนย้ายแรงงานไร้ฝีมือจากประเทศเพื่อนบ้าน • ภาวะสมองไหล (Brain Drain) ของแรงงานมีฝีมือ • สัดส่วนของประชากรวันทำงานของไทยเพิ่มในอัตราต่ำ • เจตคติและศักยภาพทางภาษาและวัฒนธรรมของคนไทยเป็นอุปสรรคในการแข่งขัน • ความชัดเจนและต่อเนื่องของนโยบาย
ทิศทางการจัดการศึกษาไทยทิศทางการจัดการศึกษาไทย • การแก้ไขปัญหาเดิม • การตอบสนองอาเซียน • การเตรียมตัวก้าวสู่กระแสโลกาภิวัตน์
การแก้ไขปัญหาเดิม • การประกันโอกาส • การศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นภาระหลักของประเทศ • การศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาสยังมีปัญหา • การพัฒนาคุณภาพ • คุณภาพผู้เรียนและศักยภาพในการแข่งขัน • คุณภาพครู • การปรับปรุงประสิทธิภาพ • การออกกลางคัน • โรงเรียนขนาดเล็ก