920 likes | 1.41k Views
รายวิชาเศรษฐศาสตร์แรงงาน. บทที่ 3. อุปสงค์แรงงาน (Demand for Labor). โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว สายวิชาเศรษฐศาสตร์ วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. หัวข้อ. ความหมายของอุปสงค์แรงงาน อุปสงค์แรงงานในระยะสั้น อุปสงค์แรงงานในระยะยาว สาเหตุการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์แรงงาน
E N D
รายวิชาเศรษฐศาสตร์แรงงานรายวิชาเศรษฐศาสตร์แรงงาน บทที่ 3 อุปสงค์แรงงาน (Demand for Labor) โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว สายวิชาเศรษฐศาสตร์ วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หัวข้อ • ความหมายของอุปสงค์แรงงาน • อุปสงค์แรงงานในระยะสั้น • อุปสงค์แรงงานในระยะยาว • สาเหตุการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์แรงงาน • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แรงงานต่อการเปลี่ยนแปลงค่าจ้าง • ปัจจัยกำหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์แรงงาน • ตัวอย่างผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ความหมายของอุปสงค์แรงงานความหมายของอุปสงค์แรงงาน
ความหมาย -อุปสงค์แรงงาน หมายถึง ความต้องการแรงงานในฐานะปัจจัยการผลิตที่นายจ้างหรือผู้ผลิตต้องการว่าจ้าง เมื่อมีตำแหน่งงานว่างหรือเมื่อมีการลงทุนใหม่หรือลงทุนขยายงานเพิ่มเติม ณ ระดับอัตราค่าจ้างต่างๆที่นายจ้างหรือผู้ผลิตสามารถจะว่าจ้างได้ -อุปสงค์แรงงานเป็นอุปสงค์สืบเนื่อง (Derived demand)หมายความว่า การเกิดขึ้นและการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์แรงงานเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์อื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์กับแรงงาน เช่น เมื่อความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น ในขณะที่ราคาสินค้านั้นไม่เปลี่ยนแปลง ผู้ผลิตย่อมเล็งเห็นผลกำไรที่จะเกิดขึ้น ผู้ผลิตก็จะผลิตสินค้ามากขึ้น ทำให้มีความต้องการแรงงานเพื่อมาผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นด้วย อุปสงค์ต่อแรงงานมีความแตกต่างจากอุปสงค์สินค้าอย่างไรบ้าง?
-อุปสงค์แรงงานเป็นอุปสงค์ร่วม(Joint demand) หมายความว่า การเกิดขึ้นและการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์แรงงานเป็นไปพร้อมกับการเกิดขึ้นและเปลี่ยนไปของอุปสงค์ในปัจจัยการผลิตอื่นๆ เช่น เมื่อผู้ผลิตต้องการเครื่องจักรมากขึ้นในการผลิต จึงมีความต้องการแรงงานที่ควบคุมและซ่อมเครื่องจักรเพิ่มขึ้นด้วยเหมือนกัน • สมมติฐานการวิเคราะห์ 1) ราคาของแรงงานคือค่าจ้าง 2)เมื่อมีตำแหน่งงานว่างนายจ้างจะรับคนงานจากตลาดภายนอกเข้ามาเท่านั้น 3) คนงานมีความสามารถและประสิทธิภาพเท่ากัน 4) นายจ้างมีข้อมูลพร้อมเกี่ยวกับตลาดแรงงาน 5) จุดหมายหน่วยธุรกิจคือกำไรสูงสุด
สมมติฐานการวิเคราะห์(ต่อ)สมมติฐานการวิเคราะห์(ต่อ) 6) หน่วยธุรกิจแต่ละแห่งมีขนาดเล็กมาจนไม่มีอิทธิพลต่ออัตราค่าจ้างตลาด 7)คนงานแต่ละคนไม่มีอิทธิพลเหนือค่าจ้าง ต้องเสนอขายแรงงานตามอัตราค่าจ้างตลาด เส้นอุปทานแรงงานจะขนานกับแกนนอน 8)การผลิตใช้ปัจจัยการผลิตหลายอย่างร่วมกัน
กำหนดให้ -MP (Marginal Product) คือ ผลผลิตเพิ่มจากการใช้ปัจจัยแรงงานเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ดังนั้น ถ้าจ้างแรงงานเพิ่ม 1 คน จะได้ผลผลิตเพิ่ม MP หน่วย -MC (Marginal Cost) คือ ต้นทุนเพิ่มจากการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ดังนั้น ถ้าผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะต้องเสียต้นทุนเพิ่มขึ้น MC หน่วย -MR (Marginal Revenue) คือ รายได้ที่ได้รับเพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าเพิ่มข้น 1 หน่วย ดังนั้น ถ้าขายสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วยจะได้รับรายรับเพิ่มขึ้น MR บาท และในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MR = P -W (wage) คือ ค่าจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แรงงาน 1คน ดังนั้น ถ้าจ้างแรงงาน 1 คนจะเสียค่าจ้าง W บาท
ความสัมพันธ์ของตัวแปรตามข้อกำหนดความสัมพันธ์ของตัวแปรตามข้อกำหนด -ถ้านายจ้างต้องการผลผลิต MP หน่วย ใช้แรงงาน 1 คน ถ้าต้องการผลผลิต 1 หน่วย ใช้แรงงาน (1/MP) คน -ถ้านายจ้างจ้างแรงงาน 1 คน เสียค่าจ้าง W บาท ถ้าใช้แรงงาน 1/MP คน จะเสียค่าจ้าง W x (1/MP) = (W/MP) -สรุป ถ้าต้องการผลผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ต้องเสียต้นทุนเพิ่มขึ้น (W/MP) บาท นั่นคือ (W/MP) = MC -เงื่อนไขกำไรสูงสุดตลาดผูกขาด MC= MR ดังนั้น นายจ้างจ้าง ณ จุด (W/MP) = MR หรือ W = MP x MR = MRP (Marginal Revenue Product) -ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MR = P ดังนั้น W = MP x P = VMP (Value of Marginal Product)
-นายจ้างจะเปรียบเทียบระหว่างมูลค่าเพิ่มของแรงงาน 1 คนที่เขาจ้างเพิ่มขึ้น(ที่สามารถผลิตสินค้าให้นายจ้าง)(VMPL ) กับ ค่าจ้างที่จ่ายให้แรงงานที่จ้างเพิ่มขึ้นนั้น (W) โดยนายจ้างจะจ้างแรงงานเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตราบใดที่ VMPL > W และจะจ้างเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่ง VMP = W ซึ่งจะทำให้นายจ้างได้รับกำไรสูงสุด และในตลาดไม่แข่งขัน MRPL > W และจะจ้างเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่ง MRPL = W
การคำนวณผลิตภาพของแรงงานการคำนวณผลิตภาพของแรงงาน • การคำนวณอย่างหยาบ ผลิตภาพแรงงาน เท่ากับ ผลผลิต หารด้วยผู้มีงานทำ • ในการศึกษาหาผลิตภาพของแรงานได้ทำการวิเคราะห์จากแบบจำลองสมการการผลิตแบบ Cobb-Douglas ที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่าของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเบื้องต้นแท้จริงกับปัจจัยการผลิตซึ่งในที่นี้ได้แก่ปัจจัยทุนที่แท้จริงปัจจัยแรงงานฝีมือและปัจจัยแรงงานไร้ฝีมือหลังจากนั้นก็นำค่าความยืดหยุ่นของผลผลิต(หรือผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเบื้องต้นแท้จริง)ต่อปัจจัยแรงงานไร้ฝีมือที่ได้จากการประมาณการสมการมาคำนวณหาผลิตภาพของแรงงานไร้ฝีมือผลการประมาณการเป็นดังนี้ Y = ( a1 Ls + a2 Ks )1/s Then, MPL = a1 (Y/L)1-s and MPK = a2 (Y/K)1-s.
การเปลี่ยนแปลงผลิตภาพแยกรายสาขาการเปลี่ยนแปลงผลิตภาพแยกรายสาขา
สมการการผลิตแบบ Cobb-Douglas • logRGDP= -3.815250+0.292628logRK+1.177353logSKILL–0.266657logUNSKILL (-6.844524)**(13.07113)** (19.27796)** (-15.92862)** = 0.9984 D.W. = 1.465 = 0.9982 F-statistic = 5063.309 S.E.E. = 0.01547 Prob(F-statistic) = 0.00000 ** = มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 หรือที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 เมื่อ -ผลผลิตรวมของประเทศหรือผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเบื้องต้นแท้จริง(RGDP) -ปัจจัยทุนแท้จริง(การสะสมทุนเบื้องต้นแท้จริง:RK) -ปัจจัยแรงงานฝีมือ(SKILL) และ -ปัจจัยแรงงานไร้ฝีมือ(UNSKILL)
“เกณฑ์การกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำและผลกระทบต่อการจ้างงานและค่าจ้างในภาคอุตสาหกรรม”“เกณฑ์การกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำและผลกระทบต่อการจ้างงานและค่าจ้างในภาคอุตสาหกรรม” • สุวรรณาตุลยวศินพงศ์ (2543) • การศึกษาผลกระทบต่อการจ้างงานของแรงงาน 6 กลุ่ม ได้แก่ แรงงานเพศชาย-หญิงกลุ่มอายุ 15-19 ปี อายุ 20-24 ปี และอายุ 25 ปีขึ้น ใช้แบบจำลองที่มีตัวแปรตามคือจำนวนผู้มีงานทำของกลุ่มแรงงานตามเพศ-วัยต่างๆข้างต้น ตัวแปรอิสระได้แก่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมแท้จริง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ และจำนวนประชากรในกลุ่มเพศ-วัยต่าง ๆ ทั้ง 6 กลุ่ม • ผลการศึกษาพบว่า การปรับค่าจ้างขั้นต่ำเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะส่งผลให้การจ้างงานในแรงงานกลุ่มวัยรุ่นชายและหญิงลดลงโดย กลุ่มแรงงานชายอายุ 15-19 ปีลดลงร้อยละ 0.2924 กลุ่มแรงงานชายอายุ 20-24 ปีลดลงร้อยละ 0.1457 และกลุ่มแรงงานหญิงอายุ 15-19 ปีลดลงร้อยละ 0.2226 สาเหตุที่แรงงานวัยรุ่นได้รับผลกระทบจากการปรับค่าจ้างขั้นต่ำเป็นเพราะแรงงานกลุ่มนี้มีทักษะหรือประสบการณ์น้อยกว่าแรงงานกลุ่มผู้ใหญ่จึงเป็นกลุ่มที่มีโอกาสว่างงานสูงกว่า
สำหรับการศึกษาผลกระทบของค่าจ้างขั้นต่ำต่อค่าจ้างเฉลี่ยของแรงงานในภาคอุตสาหกรรมโดยการจำแนกแรงงานออกเป็น 10 กลุ่ม (decile group) ใช้แบบจำลองพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามคือค่าจ้างเฉลี่ยของแรงงานในภาคอุตสาหกรรม 10 กลุ่มกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอิสระได้แก่ผลิตภัณฑ์มวลรวมค่าจ้างขั้นต่ำและระดับการศึกษาของแรงงาน • ผลการศึกษาพบว่าการปรับค่าจ้างขั้นต่ำเพิ่มขึ้นมีผลกระทบต่อระดับค่าจ้างของแรงงานกลุ่มกลาง ๆ เท่านั้นแต่แรงงานกลุ่มล่าง ๆ อย่างแรงงานกลุ่มที่ 1 ซึ่งมีค่าจ้างต่ำ ไม่ได้รับอานิสงค์จากการปรับค่าจ้างขั้นต่ำเลยผลการศึกษาผลกระทบของค่าจ้างขั้นต่ำทั้งต่อการจ้างงานและระดับค่าจ้างเฉลี่ยของแรงงานสะท้อนว่าผู้ไม่ได้รับผลบวกจากการปรับค่าจ้างขั้นต่ำกลับเป็นแรงงานกลุ่มวัยรุ่นและแรงงานที่มีรายได้กลุ่มล่างๆซึ่งเป็นกลุ่มแรงงานที่กฎหมายจะคุ้มครองนั่นเอง
ผู้มีงานทำรวม จำแนกเป็นรายไตรมาส หน่วย : ล้านคน
ผู้มีงานทำ จำแนกตาม เพศ หน่วย : ล้านคน
สัดส่วน ผู้มีงานทำ จำแนกตาม เพศ หน่วย : ร้อยละ
ผู้มีงานทำ จำแนกตาม อายุ หน่วย : ล้านคน
สัดส่วน ผู้มีงานทำ จำแนกตามอายุ หน่วย : ร้อยละ
ผู้มีงานทำ จำแนกตามการศึกษา หน่วย : ล้านคน
สัดส่วน ผู้มีงานทำ จำแนกตามการศึกษา หน่วย : ร้อยละ
สัดส่วน ผู้มีงานทำ จำแนกเพศ(หญิง/ชาย/รวม) และระบบแรงงาน(ใน/นอก) หน่วย : ร้อยละ
จำนวนหน่วยธุรกิจและลูกจ้างจำนวนหน่วยธุรกิจและลูกจ้าง หน่วย : พันแห่ง/คน
อุปสงค์แรงงานในระยะสั้นอุปสงค์แรงงานในระยะสั้น
ที่มาแนวคิด • Isoquant • Expansion path • TP MP AP • VTP VMP VAP
อุปสงค์ระยะสั้นของหน่วยผลิตอุปสงค์ระยะสั้นของหน่วยผลิต Expansion path ทุน E1 E2 E3 E4 Q4 Q3 Q2 Q1 L1 L3 L2 L4 ปริมาณแรงงาน 0
อุปสงค์ระยะสั้นของหน่วยผลิตอุปสงค์ระยะสั้นของหน่วยผลิต ผลผลิต TP 350 300 200 100 AP MP L1=20 L3=40 L2=30 L4=50 ปริมาณแรงงาน 0
อุปสงค์ระยะสั้นของหน่วยผลิตอุปสงค์ระยะสั้นของหน่วยผลิต ณ W2=6 จ้างงาน L3 W2=6=VMPมูลค่าผลผลิตเฉลี่ย OL3eW1จ่ายค่าจ้างรวม OL3fW2กำไร W2feW1 อัตราค่าจ้าง a W3 c h W0 W4 e S1 b W1=7 d g W2=6 S2 f VAP VMP L1 L3 L0 L2 L4 ปริมาณแรงงาน 0 ณ W3จ้างงาน L0 W3=VMP มูลค่าผลผลิตเฉลี่ย OL0bW1จ่ายค่าจ้างรวม OL0aW3ขาดทุน W3abW1ฉะนั้น การจ้างงานจะเกิด ณ L1 เป็นต้นไป
อุปสงค์ระยะสั้นของหน่วยผลิตอุปสงค์ระยะสั้นของหน่วยผลิต อัตราค่าจ้าง c W0 d W1 DL ปริมาณแรงงาน L2 0 L1
ความสัมพันธ์ของตัวแปรตามข้อกำหนดความสัมพันธ์ของตัวแปรตามข้อกำหนด -ถ้านายจ้างต้องการผลผลิต MP หน่วย ใช้แรงงาน 1 คน ถ้าต้องการผลผลิต 1 หน่วย ใช้แรงงาน (1/MP) คน -ถ้านายจ้างจ้างแรงงาน 1 คน เสียค่าจ้าง W บาท ถ้าใช้แรงงาน 1/MP คน จะเสียค่าจ้าง W x (1/MP) = (W/MP) -สรุป ถ้าต้องการผลผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ต้องเสียต้นทุนเพิ่มขึ้น (W/MP) บาท นั่นคือ (W/MP) = MC -เงื่อนไขกำไรสูงสุดตลาดผูกขาด MC= MR ดังนั้น นายจ้างจ้าง ณ จุด (W/MP) = MR หรือ W = MP x MR = MRP (Marginal Revenue Product) -ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MR = P ดังนั้น W = MP x P = VMP (Value of Marginal Product)
-นายจ้างจะเปรียบเทียบระหว่างมูลค่าเพิ่มของแรงงาน 1 คนที่เขาจ้างเพิ่มขึ้น(ที่สามารถผลิตสินค้าให้นายจ้าง)(VMPL ) กับ ค่าจ้างที่จ่ายให้แรงงานที่จ้างเพิ่มขึ้นนั้น (W) โดยนายจ้างจะจ้างแรงงานเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตราบใดที่ VMPL > W และจะจ้างเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่ง VMP = W ซึ่งจะทำให้นายจ้างได้รับกำไรสูงสุด และในตลาดไม่แข่งขัน MRPL > W และจะจ้างเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่ง MRPL = W
อุปสงค์แรงงานในระยะยาวอุปสงค์แรงงานในระยะยาว
แนวคิด -ระยะยาวเป็นระยะที่ปัจจัยการผลิตทุกชนิดเป็นปัจจัยผันแปร -การเปลี่ยนแปลงของค่าจ้างทำให้การจ้างงานเปลี่ยน การลงทุนเปลี่ยนแปลง เช่น อัตราค่าจ้างลดลง ทำให้การจ้างงานเพิ่มขึ้น และลดการลงทุน โดยใช้แรงงานคนแทนแรงงานเครื่องจักร(หรือทุน) ซึ่งจะกระทบต่อมูลค่าของผลผลิต เส้น VMP เลื่อนไปทางซ้ายมือ เรียก ผลทางด้านการทดแทน(substitution effect) -ผลจากการที่ค่าจ้างลดลง ทำให้การจ้างงานเพิ่มขึ้น อาจทำให้มีการเพิ่มการลงทุนก็ได้ อันจะทำให้เส้น VMP เลื่อนไปทางขวามือ เรียก ผลทางด้านของผลผลิต(scale effect) W Nd N K MPL VMPL(ผลด้านทดแทน)Nd N K MPL VMPL (ผลด้านผลผลิต)
อัตราค่าจ้าง a W0 c b W1 VMP0 VMP1 DL SR LR L0 L1 L2 0 อุปสงค์แรงงานในระยะยาวของหน่วยธุรกิจ -อัตราค่าจ้าง OW0การจ้างงาน OL0เส้น VMP0ที่จุด a-อัตราค่าจ้างลดลง OW1ระยะสั้นการจ้างงานเพิ่มOL1ระยะยาวมีเวลานานพอที่จะเอาแรงงานแทนเครื่องจักร เมื่อขยายการผลิตเพิ่มขึ้นจากที่ต้นทุนค่าจ้างลดลง เส้นVMP เลื่อนเป็น VMP1การจ้างงาน L2ที่จุด c (VMP เพิ่มขึ้นเพราะMPLเพิ่มขึ้น )-เชื่อมจุด a และ cได้เส้นอุปสงค์แรงงานระยะยาว DLที่มีความยืดหยุ่นมากกว่าระยะสั้น ปริมาณแรงงาน
อัตราค่าจ้าง a W0 b W1 VMP0 VMP1 DL L1 0 L0 อุปสงค์แรงงานของหน่วยธุรกิจที่มีการผูกขาดระยะยาว ในกรณีที่ผลทางด้านผลผลิต(scale effect)มากกว่าผลทางด้านทดแทน(substitution effect) -อัตราค่าจ้าง OW0การจ้างงาน OL0เส้น VMP0ที่จุด a-อัตราค่าจ้างลดลง OW1การจ้างงานเพิ่มOL1และมีการเพิ่มการลงทุน การใช้ปัจจัยทุนเพิ่มขึ้นด้วย เส้น VMP1ที่จุด b (VMP เพิ่มขึ้นเพราะMPLเพิ่มขึ้น )-เชื่อมจุด a และ b ได้เส้นอุปสงค์แรงงานระยะยาว DLที่มีความยืดหยุ่นมากกว่าระยะสั้น ปริมาณแรงงาน
อัตราค่าจ้าง a W0 b W1 VMP0 VMP1 DL L0 L1 0 ในกรณีที่ผลทางด้านทดแทน (substitution effect) มากกว่าผลทางด้านผลผลิต (scale effect) -อัตราค่าจ้าง OW0การจ้างงาน OL0เส้น VMP0ที่จุด a-อัตราค่าจ้างลดลง OW1การจ้างงานเพิ่มOL1เส้น VMP1ที่จุด b (VMPลดลงเพราะMPL ลดลงเนื่องจากใช้แรงงานเพิ่มขึ้นแต่การใช้ทุนไม่เพิ่มด้วย)-เชื่อมจุด a และ b ได้เส้นอุปสงค์แรงงานระยะยาว DLที่มีความยืดหยุ่นน้อยกว่าระยะสั้น ปริมาณแรงงาน
อุปสงค์แรงงานในอุตสาหกรรมอุปสงค์แรงงานในอุตสาหกรรม -อัตราค่าจ้าง OW0การจ้างงาน OL0-อัตราค่าจ้างลดลง OW1การจ้างงานแต่ละรายรวมกันเพิ่มL0L4แต่ทั้งอุตสาหกรรมเพิ่มเพียง L0L3 เพราะค่าจ้างลดลง จ้างงานเพิ่ม ผลผลิตทั้งอุตสาหกรรมเพิ่ม ปริมาณเพิ่มมาก ราคาลด VMPL ลดลง(VMPL =MPL xP ) การจ้างงานจึงเพิ่มไม่มาก-กรณีอัตราค่าจ้างเพิ่มสูงขึ้นจะเป็นตรงข้าม อัตราค่าจ้าง W2 d e a W0 b c W1 DLของหน่วยธุรกิจในอุตสาหกรรมรวมกัน DIอุตสาหกรรม L1 L2 L0 L3 L4 ปริมาณแรงงาน 0
สาเหตุการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์แรงงานสาเหตุการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์แรงงาน
1) การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ผลผลิต Product Demand DG DL • 2) การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตและวิธีการผลิต ( การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี -เทคโนโลยีที่ใช้ทดแทนกัน หุ่นยนต์แทนแรงงานคน DL -เทคโนโลยีที่ใช้ประกอบกัน จักรเย็บกับแรงงานคน DL 3)การเปลี่ยนแปลงราคาปัจจัยการผลิตอื่น ๆ -PK (R ) K ทดแทนกัน DL ประกอบกัน DL -PL(หรือW)สหภาพแรงงาน DLนอกสหภาพ
4) การเปลี่ยนแปลงผลิตภาพแรงงาน -MPL DL • 5) จำนวนนายจ้าง (Number of Employers) -จำนวนนายจ้าง DL ค่าจ้าง W0 DL1 DL0 0 ปริมาณแรงงาน L0 L1
การประมาณการความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนการจ้างงานกับค่าจ้างเฉลี่ยการประมาณการความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนการจ้างงานกับค่าจ้างเฉลี่ย Dependent Variable: EMP Method: Least Squares Date: 12/06/07 Time: 08:32 Sample(adjusted): 1998:1 2006:2 Included observations: 32 Excluded observations: 2 after adjusting endpoints Variable Coefficient Std. Error t-Statistic Prob. C 6914.571 2554.226 2.707110 0.0111 AW 4.505055 0.440604 10.22473 0.0000 R-squared 0.777026 Mean dependent var 32973.07 Adjusted R-squared 0.769594 S.D. dependent var 2001.059 S.E. of regression 960.5210 Akaike info criterion 16.63329 Sum squared resid 27678015 Schwarz criterion 16.72490 Log likelihood -264.1326 F-statistic 104.5451 Durbin-Watson stat 1.642829 Prob(F-statistic) 0.000000 Emp จำนวนการจ้างงาน(พันคน)AW ค่าจ้างเฉลี่ย(บาทต่อเดือน)
การประมาณการความสัมพันธ์ระหว่างค่าจ้างเฉลี่ยกับจำนวนการจ้างงานการประมาณการความสัมพันธ์ระหว่างค่าจ้างเฉลี่ยกับจำนวนการจ้างงาน Dependent Variable: AW Method: Least Squares Date: 12/06/07 Time: 08:35 Sample(adjusted): 1998:1 2006:2 Included observations: 32 Excluded observations: 2 after adjusting endpoints Variable Coefficient Std. Error t-Statistic Prob. C 97.12443 557.2071 0.174306 0.8628 EMP 0.172479 0.016869 10.22473 0.0000 R-squared 0.777026 Mean dependent var 5784.281 Adjusted R-squared 0.769594 S.D. dependent var 391.5416 S.E. of regression 187.9424 Akaike info criterion 13.37061 Sum squared resid 1059670. Schwarz criterion 13.46222 Log likelihood -211.9297 F-statistic 104.5451 Durbin-Watson stat 1.477160 Prob(F-statistic) 0.000000 AWค่าจ้างเฉลี่ย(บาทต่อเดือน)Emp จำนวนการจ้างงาน(พันคน)
การประมาณการความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนการจ้างงานกับค่าจ้างเฉลี่ยและGDPการประมาณการความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนการจ้างงานกับค่าจ้างเฉลี่ยและGDP Dependent Variable: EMP Method: Least Squares Date: 12/06/07 Time: 08:43 Sample(adjusted): 1998:1 2006:2 Included observations: 32 Excluded observations: 2 after adjusting endpoints Variable Coefficient Std. Error t-Statistic Prob. C 5723.571 2800.254 2.043947 0.0505 WM 4.072709 0.935607 4.353012 0.0002 WF -0.749962 0.915790 -0.818924 0.4197 GDP 0.007327 0.002751 2.663597 0.0127 R-squared 0.845362 Mean dependent var 32973.07 Adjusted R-squared 0.828793 S.D. dependent var 2001.059 S.E. of regression 827.9814 Akaike info criterion 16.39233 Sum squared resid 19195489 Schwarz criterion 16.57554 Log likelihood -258.2772 F-statistic 51.02251 Durbin-Watson stat 1.975001 Prob(F-statistic) 0.000000 Emp จำนวนการจ้างงาน(พันคน)WM ค่าจ้างเฉลี่ยชาย(บาทต่อเดือน)WF ค่าจ้างเฉลี่ยหญิง(บาทต่อเดือน)GDP(ล้านบาท)
การประมาณการความสัมพันธ์ระหว่างGDPกับจำนวนผู้มีงานทำการประมาณการความสัมพันธ์ระหว่างGDPกับจำนวนผู้มีงานทำ Dependent Variable: EMP Method: Least Squares Date: 12/06/07 Time: 08:15 Sample(adjusted): 1998:1 2006:2 Included observations: 34 after adjusting endpoints Variable Coefficient Std. Error t-Statistic Prob. C 18831.16 1592.505 11.82487 0.0000 GDP 0.016969 0.001923 8.825258 0.0000 R-squared 0.708787 Mean dependent var 32775.01 Adjusted R-squared 0.699687 S.D. dependent var 2119.836 S.E. of regression 1161.689 Akaike info criterion 17.01016 Sum squared resid 43184659 Schwarz criterion 17.09995 Log likelihood -287.1727 F-statistic 77.88517 Durbin-Watson stat 1.831719 Prob(F-statistic) 0.000000 Emp ผู้มีงานทำ(พันคน)GDP (ล้านบาท)