1 / 18

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแนวทางการประเมินความพึงพอใจ

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแนวทางการประเมินความพึงพอใจ. 20 พฤศจิกายน 2556. แนวทางการประชุม. ฟังบรรยาย หลักการจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ ประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 : 3 ผลิตภัณฑ์ หลักสูตร ( 2 ) คู่มือ ( 1 ) กลุ่มที่ 2 : 4 ผลิตภัณฑ์ คู่มือ ( 4 )

biana
Download Presentation

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแนวทางการประเมินความพึงพอใจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแนวทางการประเมินความพึงพอใจประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแนวทางการประเมินความพึงพอใจ 20 พฤศจิกายน 2556

  2. แนวทางการประชุม • ฟังบรรยาย หลักการจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ • ประชุมกลุ่มย่อย • กลุ่มที่ 1: 3 ผลิตภัณฑ์ หลักสูตร (2) คู่มือ (1) • กลุ่มที่ 2: 4 ผลิตภัณฑ์ คู่มือ (4) • กลุ่มที่ 3: 3ผลิตภัณฑ์ แนวทาง (3) • นำเสนอผลการประชุมกลุ่มย่อย • หาข้อสรุปและฉันทามติจากที่ประชุม • ชุดคำถามที่ควรมีในแบบประเมิน • ขั้นตอนวิธีการประเมิน

  3. การถ่ายทอดตัวชี้วัด

  4. วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน (ข้อสรุป ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรค วันเสาร์ที่ 10 พ.ย. 55) ผลกระทบระดับ ชาติ 10 ปี 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 70 ปี เด็กปฐมวัย 1. อัตราตายเด็กต่ำกว่า 5 ปี ไม่เกิน 10 ต่อการเกิดมีชีพพันคน 2. ระดับค่าเฉลี่ยเชาว์ปัญญาของเด็กไม่ต่ำกว่าระดับ 100 3. ร้อยละของเด็กที่มีความฉลาดทางอารมณ์ไม่ต่ำกว่าgกณฑ์มาตรฐาน มากกว่า 70 4. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ไม่เกิน 10 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ( Joint KPI ) 5. อัตราการป่วยด้วยโรคหัด ไม่เกิน 0.5 ต่อแสนประชากร ผู้สูงอายุ ผู้พิการ 1. ร้อยละของผู้ สูงอายุที่เป็นโรค สมองเสื่อม ไม่เกิน 10 2. อัตราป่วยตายด้วยโรควัณโรคน้อยกว่าร้อยละ 5 เด็กวัยรุ่น วัยเรียน 1.อัตรามารดาอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อพันประชากร 2. เด็กวัยรุ่นเป็นเด็กอ้วน ไม่เกินร้อยละ 15 3. อัตราการก่อคดีความรุนแรงในเด็กวัยรุ่น ลดลงร้อยละ 10 4. จำนวนวัยรุ่น ผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติดลดลง ร้อยละ 50 5. ผู้สูบบุหรี่วัยรุ่น อายุ 15-18 ปี ไม่เกินร้อยละ 10 6. ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากร 15-19 ปี ไม่เกินร้อยละ 12.7 เด็ก สตรี 1. อัตราตาย มารดาไม่เกิน 18/การเกิดมีชีพแสนคน 2. อัตราตาย ทารก ไม่เกิน 15/การเกิดมีชีพพันคน วัยทำงาน 1. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ลดลงร้อยละ 67 2. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 13 ต่อประชากรแสนคน 3. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 15 ต่อประชากรแสนคน 4. สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และ มะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผลลัพธ์ 3-5 ปี 19 1. ร้อยละของสตรีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่า 90 2. ร้อยละของสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่า 90 3. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ไม่น้อยกว่า 40 6. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา เท่ากับ 100 7. ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ ไม่น้อยกว่า 80 1. ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด ไม่เกิน 5 2. ร้อยละของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด ไม่เกิน 5 3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่า 60 4. ร้อยละของเด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า 70 5. ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด ไม่น้อยกว่า 95 6. ร้อยละของเด็กและเยาวชนอายุ 15-24 ปี ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ร้อยละ 58 7. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการดูแล/กระตุ้นพัฒนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 8. ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีปัญหาฟันน้ำนมผุลดลง ไม่เกิน 37 9. สน.NCD ช่ย เพิ่ม KPI เชื่อมโยง joint KPIผลลัพธ์ 3-5 ปี “อัตราเสียชีวิตจากการจมน้ำฯ เช่น ร้อยละของความร่วมมือ........ ??......” 1. ร้อยละของผู้ป่วย DM HT ที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ไม่น้อยกว่า 50 2. ร้อยละของผู้ป่วย DM HT ที่ลดลงในรพศ./รพท .ไม่น้อยกว่า 30 3. ร้อยละของจำนวนผู้ป่วยกลุ่มโรค CMI เพิ่มขึ้นในรพศ./รพท. ไม่น้อยกว่า 30 4. ร้อยละของการลดเวลาให้บริการผู้ป่วยนอก ไม่น้อยกว่า 30 5. อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ผลลัพธ์ 1-2 ปี 19 สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน 1. ร้อยละของสถานบริการสุขภาพปลอดบุหรี่ เท่ากับ 100 2. ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำหวาน ไม่น้อยกว่า50 3. ร้อยละของผู้ประกอบการ อาหาร OTOP ที่ได้รับ Primary GMP ไม่น้อยกว่า 50 4. สน.NCD ช่วย เพิ่ม KPI เชื่อมโยง joint KPI ผลลัพธ์ 1-2 ปี เช่น สื่อสารความเสี่ยง ?? ......” ระบบบริการ 1. ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 2. ร้อยละของ ANC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 3. ร้อยละของ WCC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 4. ร้อยละของ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 5. ร้อยละของ Psychosocial Clinic คุณภาพ (รวมศูนย์พึ่งได้) ไม่น้อยกว่า 70 6. ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ ผู้พิการคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 7. ร้อยละของ NCD คลินิกคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 (กรม คร. เป็นหลักกำหนดมาตรตรฐานคลินิกคุณภาพ) 8. ร้อยละของบริการผู้ป่วยนอกด้านการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า 20 9. ร้อยละอำเภอที่มีระบบช่วยเหลือนักเรียนที่เชื่อมกับโรงพยาบาลชุมชนอย่างมีคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 50 10. ร้อยละของคลินิกวัณโรคคุณภาพไม่น้อยกว่า 70 การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 1. ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ไม่น้อยกว่า 80 2. ร้อยละของอำเภอที่มี DHS ที่เชื่อมโยงระบบบริการ ปฐมภูมิกับชุมชน และ ท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 50 (กรม คร. รวม KPI “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” กับ 18องค์ประกอบของ HDS ) กระบวนการ 17 สาธารณภัย/ฉุกเฉิน 1. ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRTคุณภาพ เท่ากับ 80 2. ร้อยละของ ER EMS คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 ประสิทธิภาพ 5 บุคลากร 1. สัดส่วนของงบบุคลากรต่องบประมาณทั้งหมด ไม่มากกว่า 50 ระบบข้อมูล 1. ร้อยละของจังหวัดที่มี Data Center เท่ากับ 100 2. ร้อยละของระบบข้อมูลยาในสถานบริการที่มีคุณภาพ เท่ากับ 100 การเงินการคลัง 1. ต้นทุนค่ายาผู้ป่วยนอกเฉลี่ยลดลงร้อยละ 10 2. ต้นทุนค่าสืบค้นทางคลินิกในผู้ป่วยนอกเฉลี่ยลดลงร้อยละ 10 62

  5. ตัวชี้วัดตามนโยบายท่านปลัด 2556-2558 • กระบวนการ • ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ > 70 % • กรมคร.กำหนดมาตรฐานคลินิก NCDคุณภาพ • อำเภอมีการเชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่น (DHS) >50% • ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT,SRRTคุณภาพ > 80 % • ผลลัพธ์1-2ปี • เด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีนหัด > 95% • เยาวชน 15-24 ปี ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด > 58 % • ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดี > 40 % • ผู้ป่วย เบาหวาน ความดัน มีการปรับพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. >50 % • ผู้ป่วย เบาหวาน ความดัน ในรพศ./รพท. ลดลง > 30 % • ผลลัพธ์3-5 ปี • อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ< 10ต่อแสนปชก. • อัตราป่วยด้วยโรคหัด < 0.5 ต่อแสนปชก • ผู้สูบบุหรี่อายุ 15-18 ปี < 10 % • ความชุกของผู้บริโภคแอลกอฮอลล์ อายุ 15-19 ปี < 12.7 % • จำนวนผู้ติดเชื้อ HIVลดลง 67 % • อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน < 13 ต่อแสนปชก. • อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ < 15 ต่อแสนปชก. • อัตราป่วยตายด้วยวัณโรค < 5 % อ้างอิงจาก เอกสารสรุปการรปะชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

  6. จุดเน้นกรมควบคุมโรคปี 2556 • โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล • การควบคุมโรคไข้เลือดออก • การพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก • การควบคุมหนอนพยาธิในถิ่นทุรกันดาร • การกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า • วัณโรค • เอดส์ • โรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ • การควบคุมการบริโภคแอลกอฮอลล์ • การควบคุมการบริโภคยาสูบ • โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม • การค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนและความพิการ • พัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข • กฎอนามัยระหว่างประเทศ • กรอบการดำเนินงานเรื่องการสื่อสารฯกรมควบคุมโรค • การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์โรคติดต่ออุบัติใหม่ • การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติเรื่องวัคซีน

  7. สูตรคำนวณ จำนวนกลุ่มลูกค้าหรือกลุ่มผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์หลักของกรมควบคุมโรค X 100 จำนวนกลุ่มลูกค้าหรือกลุ่มผู้ใช้ผลิตภัณฑ์หลักจากการสอบถามทั้งหมด เป้าหมาย ร้อยละ 80-84

  8. วิธีดำเนินการ • ติดตามได้ 10 ชิ้น

  9. รายชื่อที่คัดเลือกเพื่อจัดทำ workshop

  10. การจัดเตรียม • บทนำ • วัตถุประสงค์ • เพื่อประเมินความพึงพอใจของลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์ของกรมควบคุมโรค • เพื่อทราบข้อเสนอแนะและ สิ่งที่ควรปรับปรุงจากลูกค้าผู้ได้รับผลิตภัณฑ์ • ประชากรเป้าหมาย • ขนาด/จำนวนลูกค้าที่จะทำการประเมิน • ค่าความเชื่อมั่น 80% ใช้165 ราย • ค่าความเชื่อมั่น 95% ใช้384 ราย • ขั้นตอนการดำเนินการประเมิน • การวิเคราะห์ข้อมูล • ความพึงพอใจในเรื่องการใช้ประโยชน์ วิเคราะห์จากข้อมูลในข้อ 1 และ 2 • ความพึงพอใจในภาพรวมจะนำมาตอบตัวชี้วัดคำรับรองของกรมฯ • เครื่องมือที่ใช้ • ผู้/คณะบุคคล/หน่วยงาน เจ้าของผลิตภัณฑ์ • ผู้ดำเนินการประเมิน • ร่างแนวทางการประเมิน • ร่างแบบประเมิน

  11. ร่าง แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ

  12. ร่าง แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ

  13. ขั้นตอนการประชุมกลุ่มย่อย (3 ชั่วโมง, 90 นาที) • เลือก ประธาน เลขาฯ ผู้นำเสนอผลการประชุม • ขอให้เจ้าของผลิตภัณฑ์นำเสนอ (5 นาที)/ ผลิตภัณฑ์ (รวม 15-20นาที) • ลักษณะผลิตภัณฑ์คืออะไร • กลุ่มลูกค้าหลักและทั่วไปคือใคร • คาดว่าผลิตภัณฑ์นี้จะเป็นประโยชน์ต่อลูกค้าอย่างไร • ทุกคนพิจารณาผลิตภัณฑ์ • ผู้แทนลูกค้านำเสนอความคิดเห็นต่อผลิตภัณฑ์ในมุมมองตนเอง (คนละ 5-10 นาที รวม 10-15 นาที) • ประเด็นโรค/ภัย/การทำงานที่ผลิตภัณฑ์เกี่ยวข้อง ขณะนี้ลูกค้ามีวิธีการดำเนินการอย่างไร • ผลิตภัณฑ์ที่นำเสนอหากมีการใช้ประโยชน์ จะวัดอย่างไร • แลกเปลี่ยนความคิดเห็น (ร่าง) • แบบประเมินสามารถใช้เป็นเครื่องมือประเมินผลิตภัณฑ์ของกลุ่มได้หรือไม่ • ร่างแนวทางการประเมินสามารถดำเนินการได้หรือไม่

  14. นำเสนอผลการประชุมกลุ่มนำเสนอผลการประชุมกลุ่ม • ประเด็น • ข้อเสนอแนะสำหรับแบบประเมิน • ข้อเสนอแนะสำหรับวิธีการปะเมิน • กลุ่มละ 15-20 นาที

  15. ขอบคุณค่ะ

  16. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแนวทางการประเมินความพึงพอใจประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแนวทางการประเมินความพึงพอใจ • วันที่ 20-21 พฤศจิกายน 2555 โรงแรมทวินทาวเวอร์ กรุงเทพ • ผู้เข้าร่วมประชุม • ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด 2.1.2 • เจ้าของผลิตภัณฑ์ • ผู้ทำหน้าที่ในการประมเนผลิตภัณฑ์ ที่คัดเลือก • ตัวแทนลูกค้าผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ • วาระประชุม • บรรยาย 50 นาที • ประชุมกลุ่ม ตามลูกค้า

  17. วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน (ข้อสรุป ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรค วันเสาร์ที่ 10 พ.ย. 55) ผลกระทบระดับ ชาติ 10 ปี 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 70 ปี เด็กปฐมวัย 1. อัตราตายเด็กต่ำกว่า 5 ปี ไม่เกิน 10 ต่อการเกิดมีชีพพันคน 2. ระดับค่าเฉลี่ยเชาว์ปัญญาของเด็กไม่ต่ำกว่าระดับ 100 3. ร้อยละของเด็กที่มีความฉลาดทางอารมณ์ไม่ต่ำกว่า เกณฑ์มาตรฐาน มากกว่า 70 4. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ไม่เกิน 10 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ( Joint KPI ) 5. อัตราการป่วยด้วยโรคหัด ไม่เกิน 0.5 ต่อแสนประชากร ผู้สูงอายุ ผู้พิการ 1. ร้อยละของผู้ สูงอายุที่เป็นโรค สมองเสื่อม ไม่เกิน 10 2. อัตราป่วยตายด้วยโรควัณโรคน้อยกว่าร้อยละ 5 เด็ก สตรี 1. อัตราตาย มารดาไม่เกิน 18 ต่อการเกิดมีชีพ แสนคน 2. อัตราตาย ทารก ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพ พันคน เด็กวัยรุ่น วัยเรียน 1.อัตรามารดาอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อพันประชากร 2. เด็กวัยรุ่นเป็นเด็กอ้วน ไม่เกินร้อยละ 15 3. อัตราการก่อคดีความรุนแรงในเด็กวัยรุ่น ลดลงร้อยละ 10 4. จำนวนวัยรุ่น ผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติดลดลง ร้อยละ 50 5. ผู้สูบบุหรี่วัยรุ่น อายุ 15-18 ปี ไม่เกินร้อยละ 10 6. ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากร 15-19 ปี ไม่เกินร้อยละ 12.7 วัยทำงาน 1. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ลดลงร้อยละ 67 2. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 13 ต่อประชากรแสนคน 3. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 15 ต่อประชากรแสนคน 4. สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และ มะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผลลัพธ์ 3-5 ปี 19 1. ร้อยละของสตรีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่า 90 2. ร้อยละของสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่า 90 3. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ไม่น้อยกว่า 40 6. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา เท่ากับ 100 7. ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ ไม่น้อยกว่า 80 1. ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด ไม่เกิน 5 2. ร้อยละของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด ไม่เกิน 5 3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่า 60 4. ร้อยละของเด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า 70 5. ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด ไม่น้อยกว่า 95 6. ร้อยละของเด็กและเยาวชนอายุ 15-24 ปี ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ร้อยละ 58 7. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการดูแล/กระตุ้นพัฒนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 8. ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีปัญหาฟันน้ำนมผุลดลง ไม่เกิน 37 9. สน.NCD ช่ย เพิ่ม KPI เชื่อมโยง joint KPIผลลัพธ์ 3-5 ปี “อัตราเสียชีวิตจากการจมน้ำฯ เช่น ร้อยละของความร่วมมือ........ ??......” 1. ร้อยละของผู้ป่วย DM HT ที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ไม่น้อยกว่า 50 2. ร้อยละของผู้ป่วย DM HT ที่ลดลงในรพศ./รพท .ไม่น้อยกว่า 30 3. ร้อยละของจำนวนผู้ป่วยกลุ่มโรค CMI เพิ่มขึ้นในรพศ./รพท. ไม่น้อยกว่า 30 4. ร้อยละของการลดเวลาให้บริการผู้ป่วยนอก ไม่น้อยกว่า 30 5. อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ผลลัพธ์ 1-2 ปี 19 สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน 1. ร้อยละของสถานบริการสุขภาพปลอดบุหรี่ เท่ากับ 100 2. ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำหวาน ไม่น้อยกว่า50 3. ร้อยละของผู้ประกอบการ อาหาร OTOP ที่ได้รับ Primary GMP ไม่น้อยกว่า 50 4. สน.NCD ช่วย เพิ่ม KPI เชื่อมโยง joint KPI ผลลัพธ์ 1-2 ปี เช่น สื่อสารความเสี่ยง ?? ......” ระบบบริการ 1. ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 2. ร้อยละของ ANC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 3. ร้อยละของ WCC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 4. ร้อยละของ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 5. ร้อยละของ Psychosocial Clinic คุณภาพ (รวมศูนย์พึ่งได้) ไม่น้อยกว่า 70 6. ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ ผู้พิการคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 7. ร้อยละของ NCD คลินิกคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 (กรม คร. เป็นหลักกำหนดมาตรตรฐานคลินิกคุณภาพ) 8. ร้อยละของบริการผู้ป่วยนอกด้านการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า 20 9. ร้อยละอำเภอที่มีระบบช่วยเหลือนักเรียนที่เชื่อมกับโรงพยาบาลชุมชนอย่างมีคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 50 10. ร้อยละของคลินิกวัณโรคคุณภาพไม่น้อยกว่า 70 การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 1. ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ไม่น้อยกว่า 80 2. ร้อยละของอำเภอที่มี DHS ที่เชื่อมโยงระบบบริการ ปฐมภูมิกับชุมชน และ ท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 50 (กรม คร. รวม KPI “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” กับ 18องค์ประกอบของ HDS ) กระบวนการ 17 สาธารณภัย/ฉุกเฉิน 1. ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRT คุณภาพ เท่ากับ 80 2. ร้อยละของ ER EMS คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 ประสิทธิภาพ 5 บุคลากร 1. สัดส่วนของงบบุคลากรต่องบประมาณทั้งหมด ไม่มากกว่า 50 การเงินการคลัง 1. ต้นทุนค่ายาผู้ป่วยนอกเฉลี่ยลดลงร้อยละ 10 2. ต้นทุนค่าสืบค้นทางคลินิกในผู้ป่วยนอกเฉลี่ยลดลงร้อยละ 10 ระบบข้อมูล 1. ร้อยละของจังหวัดที่มี Data Center เท่ากับ 100 2. ร้อยละของระบบข้อมูลยาในสถานบริการที่มีคุณภาพ เท่ากับ 100 62

More Related