1.46k likes | 5.49k Views
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก. Biology (40244) Miss Lampoei Puangmalai. บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก. 12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 12.2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น 12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ 12.4 การคายน้ำของพืช 12.5 การลำเลียงน้ำของพืช
E N D
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก Biology (40244) Miss Lampoei Puangmalai
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก • 12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก • 12.2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น • 12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ • 12.4 การคายน้ำของพืช • 12.5 การลำเลียงน้ำของพืช • 12.6 การลำเลียงธาตุอาหารของพืช • 12.7 การลำเลียงสารอาหารของพืช
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ • 1. สืบค้นข้อมูล และอธิบายลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ • 2. สำรวจตรวจสอบ และอภิปรายลักษณะโครงสร้างของราก ลำต้น ใบ ที่สัมพันธ์กับหน้าที่ • 3. สำรวจตรวจสอบโครงสร้างภายในตัดตามขวางของราก ลำต้น ใบ • 4. สำรวจตรวจสอบตำแหน่งและจำนวนปากใบของพืชในท้องถิ่น • 5. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปการคายน้ำของพืช • 6. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปการลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และสารอาหารของพืช • 7. สำรวจตรวจสอบอัตราการคายน้ำของพืช • 8. เขียนผังมโนทัศน์เรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ • 12.3.1 โครงสร้างภายนอกของใบ • 12.3.2 โครงสร้างภายในของใบ • 12.3.3 หน้าที่ของใบ
12.3.1 โครงสร้างภายนอกของใบ • ประกอบด้วย • แผ่นใบ (blade) • ก้านใบ (petiole) • หูใบ (stipule)
Outer structure of leaf http://generalhorticulture.tamu.edu/h202/labs/lab2/leafm.html
ลักษณะเส้นใบของพืช (Leaf Venation) http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm
ลักษณะใบของพืช • ใบสามารถแบ่งเป็น 2 ชนิดต่าง ๆ ได้แก่ • 1. ใบเดี่ยว (simple leaf) หนึ่งก้านใบมีใบเดียว เช่น มะละกอ ตำลึง เป็นต้น • 2. ใบประกอบ (compound leaf) หนึ่งก้านใบมีหลายใบ เช่น กุหลาบ กระถิน เป็นต้น
1. Simple Leaf • tip- the terminal point of the leaf. • blade-the flattened, green, expanded portion of a leaf. • margin- edge of a leaf. • midrib-the most prominent central vein in a leaf. • lateral veins-secondary veins in a leaf. • petiole-the leaf stalk (connects blade to stem). • stipules-leaf-like appendages (at the base of petiole of some leaves). http://generalhorticulture.tamu.edu/h202/labs/lab2/leafm.html
1. Simple Leaf: One Blade http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm
2. Compound Leaf • leaflet- secondary leaf of a compound leaf. • rachis- an extension of the petiole bearing leaflets. • petiolule-the leaflet stalk. • petiole-the leaf stalk • lateral veins-secondary veins in a leaf. • stipules-leaf-like appendages (at the base of petiole of some leaves). http://generalhorticulture.tamu.edu/h202/labs/lab2/leafm.html
2. Compound Leaf: Blade Divided Into Leaflets A. Palmately Compound (Digitate): No Rachis http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm
B. Pinnately Compound (Pinnate): With A Rachis http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm
C. Pinnately and Palmately Trifoliate http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm
D. Twice Pinnately Compound (Bipinnate) http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm
E. Pinnatid: Pinnately Dissected Nearly To The Midrib http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm
Leaf Arrangement (Phyllotaxy) http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm
Leaf Arrangement whorled http://generalhorticulture.tamu.edu/h202/labs/lab2/leafm.html
12.3.2 โครงสร้างภายในของใบ • โครงสร้างภายในของใบประกอบด้วย • 1. epidermis • 2. mesophyll • 2.1 palisade mesophyll • 2.2 sponge mesophyll • 3.vascular bundle
Inner structure of leaf http://bio1152.nicerweb.com/Locked/media/lab/plantae/organs/index.html
http://extension.oregonstate.edu/mg/botany/images/fig12a-big.gifhttp://extension.oregonstate.edu/mg/botany/images/fig12a-big.gif
dicot leaf http://generalhorticulture.tamu.edu/lectsupl/anatomy/anatomy.html
http://www.botany.hawaii.edu/nlc_biology/1411/lab/LeafLab/slide8.jpghttp://www.botany.hawaii.edu/nlc_biology/1411/lab/LeafLab/slide8.jpg
Monocot leaf and dicot leaf http://www.botany.hawaii.edu/faculty/webb/Bot201/Angiosperm/magnoliophyta3.htm
ตอบคำถาม http://images.botany.org/set-13/
1. Epidermis • Epidermis เป็นเนื้อเยื่อผิว ได้แก่ เซลล์ผิว (epidermis cell)เซลล์ขน (hair cell) หรือเปลี่ยนไปเป็นเซลล์คุม (guard cell) • epidermis cell มักไม่มีคลอโรพลาสต์ หรือมีน้อยกว่า guard cell • epidermis cell มี cutin เคลือบเพื่อป้องกันการระเหยของน้ำ
Guard cell • guard cell มีรูปร่างคล้ายไต หรือเมล็ดถั่ว 2 เซลล์ประกบกัน • พืชที่มีปากใบ (stoma) เฉพาะด้านบนของใบ คือ พืชที่ลอยปริ่มน้ำ เช่น บัว • พืชที่ไม่มีปากใบ (stoma) และ cutin เคลือบ คือ พืชที่จมอยู่ใต้น้ำ เช่น สาหร่ายหางกระรอก • พืชที่มีปากใบ (stoma) ทั้งด้านบนและด้านล่างของใบ เช่น ข้าวโพด
Guard cell http://waynesword.palomar.edu/photsyn1.htm
2. Mesophyll • เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ที่อยู่ระหว่าง epidermis ทั้งสองด้าน • ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อ parenchyma ที่มีคลอโรพลาสต์จำนวนมาก • โดยทั่วไป parenchyma ใน dicot จะมีเซลล์ 2 แบบ คือ • 2.1 Palisade mesophyll • 2.2 Sponge mesophyll
2.1 Palisade mesophyll • Palisade mesophyll มักพบอยู่ใต้ชั้น upper epidermis • ประกอบด้วยเซลล์รูปร่างยาว เรียงตัวเป็นแถวตั้งฉากกับผิว คล้ายรั้ว • ภายในมีคลอโรพลาสต์ค่อนข้างหนาแน่น
2.2 Sponge mesophyll • Sponge mesophyll อยู่ถัดจาก palisade mesophyll จนถึงชั้น lower epidermis • ประกอบด้วยเซลล์ที่มีรูปร่างไม่แน่นอน เรียงตัวในทิศทางต่าง ๆ กัน ทำให้เกิดช่องว่างระหว่างเซลล์มากมาย • ภายในมีคลอโรพลาสต์น้อยกว่า palisade mesophyll
3. Vascular bundle • vascular bundle ประกอบด้วย xylem และ phloem • โดย xylem และ phloem จะเรียงติดต่อกันอยู่ในเส้นใบ • พืชบางชนิด vascular bundle จะล้อมรอบด้วย bundle sheath เช่น ใบข้าวโพด • พืชบางชนิด bundle sheath มี fiber ช่วยทำให้ vascular bundle แข็งแรงขึ้น • พืชบางชนิดมี parenchyma ซึ่งมีคลอโรพลาสต์หรือไม่มีก็ได้ขึ้นอยู่กับ ชนิดของพืช • ส่วนใหญ่ vascular bundle อยู่ในชั้น sponge mesophyll
Mid vein of a Ligustrum leaf. x100 http://www.lima.ohio-state.edu/academics/biology/archive/leaves.html
12.3.3 หน้าที่ของใบ • หน้าที่หลักของใบ คือ • สร้างอาหาร ด้วยการสังเคราะห์แสง • หายใจ • คายน้ำ • แลกเปลี่ยนแก๊ส • และอื่น ๆ
หน้าที่อื่น ๆ ของใบ • เปลี่ยนใบเป็นหนามเพื่อลดการคายน้ำ และอันตรายจากสัตว์อื่นมากัดกินเช่น กระบองเพชร • ใบมีลักษณะอวบน้ำเพื่อเก็บสะสมอาหาร เช่น ว่านหางจระเข้ • พืชน้ำบางชนิดมีก้านใบพองโตเป็นทุ่นทำให้ลอยน้ำได้ เช่น ผักตบชวา • ใบเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่ยึดเกาะ และพยุงลำต้น เช่น ดองดึง ถั่วลันเตา เป็นต้น • ใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นถุงดักแมลง หรือสัตว์เล็ก ๆ เช่น หม้อข้าวหม้อแกงลิง กาบหอยแครง หยาดน้ำค้าง เป็นต้น
ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง http://siamensis.org/images/survey_images/s022/mor.jpg http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=196990
References • สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : 2547. 156 หน้า. • http://www.eduzones.com/vichakan/bio/bio5.html • http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/plantanatomy.htm • http://generalhorticulture.tamu.edu/h202/labs/lab2/leafm.html • http://www.lima.ohio-state.edu/academics/biology/archive/leaves.html • http://sps.k12.ar.us/massengale/plant_structure_bi1.htm • http://trc.ucdavis.edu/biosci10v/bis10v/week8/06angiospermintro.html
Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao