1 / 38

การพัฒนาแนวคิดและ มโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์

การพัฒนาแนวคิดและ มโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์. แนวการสอนคณิตศาสตร์. การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. การสอนโดยเน้นความเข้าใจทางคณิตศาสตร์. ตารางเปรียบเทียบการสอนแบบดั้งเดิม กับเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. การสอนโดยเน้นความเข้าใจทางคณิตศาสตร์. สอนบนพื้นฐานความรู้เดิม เน้นการคิด ให้เวลาผู้เรียน

Download Presentation

การพัฒนาแนวคิดและ มโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาแนวคิดและมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์การพัฒนาแนวคิดและมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์

  2. แนวการสอนคณิตศาสตร์ • การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • การสอนโดยเน้นความเข้าใจทางคณิตศาสตร์

  3. ตารางเปรียบเทียบการสอนแบบดั้งเดิม กับเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

  4. การสอนโดยเน้นความเข้าใจทางคณิตศาสตร์การสอนโดยเน้นความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ • สอนบนพื้นฐานความรู้เดิม • เน้นการคิด • ให้เวลาผู้เรียน • ให้โอกาสผู้เรียนอธิบายและแสดงเหตุผล • พยายามใช้คำถาม • คาดหวังการโต้แย้ง • นำเสนอแนวการเรียน • จัดและสร้างบรรยากาศที่เหมาะสมในชั้นเรียน

  5. การสอนมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์การสอนมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ • การวางแผนในการสอน - ชื่อมโนทัศน์ - คำถามและทิศทาง - ลักษณะที่สำคัญ - สื่อการเรียนรู้ - ลักษณะที่ไม่สำคัญ - ระดับที่ต้องการให้ผู้ - กฎของความเป็นมโนทัศน์ เรียนเรียนรู้ - ตัวอย่างมโนทัศน์ (ใช่ และไม่ใช่)

  6. กิจกรรมที่ 1 ให้นักศึกษาร่วมกันวางแผนการสอนมโนทัศน์ เรื่อง “จำนวนเฉพาะ”

  7. จำนวน ตัวเลข และค่าประจำหลัก(NUMBER, NUMERICAL, PLACE VALUE)

  8. จำนวน ตัวเลข และค่าประจำหลัก • ความเข้าใจคลาดเคลื่อน : จำนวนกับตัวเลขเป็นสิ่งเดียวกัน • ความคิดรวบยอด : - จำนวนเป็นอนิยาม - ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวน • ในระบบเลขฐานสิบ มีเลขโดดที่ใช้ 10 ตัว พร้อมค่าประจำหลัก ได้แก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

  9. จำนวน ตัวเลข และค่าประจำหลัก • การอ่านค่าประจำหลัก - ให้อ่านตามเลขโดด และหลักของเลขโดด โดยที่หลักใดเป็น 0 ไม่ต้องอ่าน เช่น เลข 1 ในหลักสิบ อ่านว่า สิบ เลข 1 ในหลักหน่วย อ่านว่า เอ็ด เลข 2 ในหลักสิบ อ่านว่า ยี่สิบ - จำนวนที่มากกว่า 7 หลัก คือตั้งแต่หลัก 10 ล้านขึ้นไปให้อ่านรวมกันว่ามีกี่ล้าน

  10. จำนวน ตัวเลข และค่าประจำหลัก • ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักจะมีค่าเท่าใดขึ้นกับว่าอยู่ในหลักใด • การเขียนจำนวนในรูปกระจาย เป็นการเขียนตัวเลขแทนจำนวนนับในรูปการบวกค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก เช่น 2,156 • การเปรียบเทียบจำนวนนับให้เปรียบเทียบค่าเลขโดดในแต่ละหลัก เริ่มจากตัวแรกทางซ้ายมือของแต่ละจำนวนว่าเป็นเลขใดอยู่ในหลักใด เท่ากันหรือไม่ ถ้าเท่ากันให้เปรียบเทียบค่าเลขโดดในหลักถัดไปทางขวา ตามลำดับ • จำนวนที่มีหลักน้อยกว่า จะน้อยว่าจำนวนที่มีหลักมากกว่า

  11. ค่าประมาณ (Estimate) • เป็นจำนวน หรือปริมาณของสิ่งต่างๆ ที่ใกล้เคียงกับจำนวนที่แท้จริงของสิ่งนั้นๆ ซึ่งอาจเป็นจำนวนเต็มหน่วย หรือเต็มสิบ หรือเต็มร้อย หรือเต็มพัน ...

  12. ข้อตกลงสำหรับการประมาณค่าเป็นจำนวนเต็มข้อตกลงสำหรับการประมาณค่าเป็นจำนวนเต็ม • เมื่อจะหาค่าประมาณเป็นจำนวนเต็มถึงหลักใด ให้พิจารณาจำนวนในหลักที่อยู่ทางขวาของหลักนั้น ว่ามีถึงครึ่งของหลักนั้นหรือไม่ ถ้ามีน้อยกว่าครึ่ง จำนวนทางขวาทั้งหมดนั้นมีค่าประมาณ เท่ากับ 0 แต่ถ้ามีค่าถึงครึ่ง หรือมากกว่าครึ่ง จำนวนทางขวาทั้งหมดนั้นมี ค่าประมาณเท่ากับ 1 หน่วย หรือ 1 สิบ หรือ 1 ร้อย หรือ 1 พัน ...

  13. ตัวอย่าง • จงประมาณค่าเป็นจำนวนเต็มร้อยของ 3,175 วิธีคิด จำนวนเต็มร้อยมีอยู่ 31 ร้อย หรือ 3,100 จำนวนทางขวาของหลักร้อย เท่ากับ 75 ซึ่งมากกว่าครึ่งของ 1 ร้อย นั้นคือ 75 จึงมีค่าประมาณ 1 ร้อย จะได้ว่า 31 ร้อย กับอีก 1 ร้อย รวมเป็น 32 ร้อย หรือ 3,200 ดังนั้น ค่าประมาณเป็นจำนวนเต็มร้อยของ 3,175 คือ 3,200

  14. ตัวอย่าง • จงประมาณค่าเป็นจำนวนเต็มพันของ 5,499 วิธีคิด จำนวนเต็มพันมีอยู่ 5 พัน หรือ 5,000 จำนวนทางขวาของหลักพัน เท่ากับ 499 ซึ่งมากกว่าครึ่งของ 1 พัน นั้นคือ 499 จึงมีค่าประมาณ 0 พัน จะได้ว่า 5 พัน กับอีก 0 พัน รวมเป็น 5 พัน หรือ 5,000 ดังนั้น ค่าประมาณเป็นจำนวนเต็มของ 5,499 คือ 5,000 *** จงหาค่าประมาณเต็มร้อย และเต็มสิบของจำนวนดังกล่าว

  15. การบวกและการลบ(ADDITION AND SUBSTRACTION)

  16. ความหมาย • การบวก : เป็นการนับรวมจำนวนสิ่งต่างๆ ตั้งแต่สองกลุ่มขึ้นไป

  17. ความหมาย • การลบ: เป็นการนำจำนวนหนึ่งออกจากอีกจำนวนหนึ่ง แล้วหาจำนวน ที่เหลือ หรือ เป็นการเปรียบเทียบจำนวนสองจำนวนว่าต่างกัน เท่าใด

  18. การดำเนินการ • การหาผลบวกของจำนวนตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป ให้นำจำนวนที่อยู่ในหลักเดียวกันมาบวกัน ถ้าผลบวกในหลักใดครบสิบ ให้ทดจำนวนที่ครบสิบไปรวมกับจำนวนที่อยู่ในหลักถัดไปทางซ้าย • สัญลักษณ์ที่ใช้แทนการบวก “+”

  19. การดำเนินการ • การหาผลลบของจำนวนสองจำนวน ให้นำจำนวนที่อยู่ในหลักเดียวกันของตัวตั้ง ลบด้วยจำนวนของตัวลบ ถ้าจำนวนในหลักใดของตัวตั้งน้อยกว่าจำนวนในหลักนั้นของตัวลบ ต้องกระจายตัวตั้งจากหลักที่อยู่ถัดไปทางซ้ายมารวมกับจำนวนในหลักนั้น • สัญลักษณ์ที่ใช้แทนการบวก “-”

  20. กิจกรรมที่ 2 ให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์ลักษณะของโจทย์ปัญหาการบวก และการลบ

  21. สรุปรูปแบบโจทย์ปัญหาการบวก และการลบ • รูปแบบที่ 1 การเพิ่มเข้า • รูปแบบที่ 2 การเอาออก • รูปแบบที่ 3 ส่วนย่อย-ส่วนย่อย-ส่วนรวม • รูปแบบที่ 4 การเปรียบเทียบ

  22. รูปแบบที่ 1 การเพิ่มเข้า • การกระทำในปัญหา - ปริมาณเริ่มต้น - ปริมาณที่เปลี่ยนแปลง (การเพิ่ม) - ปริมาณสุดท้าย (ผล) เช่น มีนก 3 ตัวเกาะอยู่บนต้นไม้ และมีนกอีก 2 ตัวบินมาเกาะบนต้นไม้ ดังนั้นจะมีนกบนต้นไม้ทั้งหมดกี่ตัว

  23. รูปแบบที่ 1 การเพิ่มเข้า

  24. รูปแบบที่ 2 การเอาออก • การกระทำในปัญหา - ปริมาณเริ่มต้น - ปริมาณที่เปลี่ยนแปลง (การเอาออก) - ปริมาณสุดท้าย (ผล) เช่น มีนก 5 ตัวเกาะอยู่บนต้นไม้ และมีนกอีก 2 ตัวบินออกไปจากต้นไม้ ดังนั้นจะมีนกเหลืออยู่บนต้นไม้ทั้งหมดกี่ตัว

  25. รูปแบบที่ 2 การเอาออก

  26. รูปแบบที่ 3 ส่วนย่อย-ส่วนย่อย-ส่วนรวม • ปัญหาประเภทนี้ เกิดจากการที่สมาชิกในกลุ่มถูกแยกออกเป็น 2 กลุ่มที่ไม่มีสมาชิกร่วมกัน • บอกส่วนย่อย สองส่วน ให้หาส่วนรวม หรือ • บอกส่วนย่อยหนึ่งส่วนและบวกส่วนรวม ให้หาส่วนย่อยอีกหนึ่งส่วน

  27. รูปแบบที่ 3 ส่วนย่อย-ส่วนย่อย-ส่วนรวม 3 3 ? 10 7 ?

  28. รูปแบบที่ 4 การเปรียบเทียบ • กลุ่มอ้างอิง • กลุ่มเปรียบเทียบ • ความแตกต่าง เช่น แก้วมีสมุด 3 เล่ม (กลุ่มอ้างอิง) แจงมีสมุด 7 เล่ม (กลุ่มเปรียบเทียบ) แจงมีสมุดมากกว่าแก้ว 4 เล่ม (ความแตกต่าง)

  29. รูปแบบที่ 4 การเปรียบเทียบ

  30. ข้อพิจารณาอื่นๆ • นนท์มีมังคุด 8 ผล นุชมีมังคุดน้อยกว่านนท์ 6 ผล นุชมีมังคุดกี่ผล • นนท์มีมังคุด 8 ผล นุชมีมังคุดมากกว่านนท์ 6 ผล นุชมีมังคุดกี่ผล • นุชมีมังคุด 2 ผล นนท์มีมังคุดมากกว่านุช 6 ผล นนท์มีมังคุดกี่ผล • นุชมีมังคุด 2 ผล นุชมีมังคุดน้อยกว่านนท์ 6 ผล นนท์มีมังคุดกี่ผล • อ้อมมีขนมหวาน 8 ชิ้น เธอรับประทานไป 3 ชิ้น อ้อมจะเหลือขนมหวานกี่ชิ้น • เพ็ญมีดอกกุหลาบอยู่ 3 ดอก เพ็ญจะต้องหากุหลาบอีกกี่ดอก จึงจะมีดอกกุหลาบเป็น 9 ดอก

  31. การคูณ และการหาร

  32. เราใช้การคูณเมื่อใด????????เราใช้การคูณเมื่อใด????????

  33. ความหมายของการคูณ • การบวกด้วยจำนวนเดียวกันซ้ำๆ กัน - มีตัวนับ 3 กอง กองละ 2 ตัว มีตัวนับทั้งหมดกี่ตัว • อัตรา - มีตัวนับ 3 ตัว ราคาตัวละ 2 บาท ตัวนับทั้งหมดราคากี่บาท • การเปรียบเทียบว่าเป็นกี่เท่า - ฉันมีตัวนับ 3 ตัว เพื่อนมีเป็น 2 เท่าของฉัน เพื่อนมีตัวนับกี่ตัว • พื้นที่ของสี่เหลี่ยมมุมฉาก - รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากประกอบด้วยตาราง 1 หน่วย มี 3 แถว แถวละ 2 ช่อง รูปสี่เหลี่ยมนี้มีพื้นที่เท่าไร • การหาจำนวนแบบของการจับคู่ที่เป็นไปได้ - มีเสื้อ 3 ตัว กับกางเกง 2 ตัว จะจับคู่เสื้อกับกางเกงแบบต่างๆ ได้กี่แบบ

  34. ความหมายของการหาร • การหักออกด้วยจำนวนซ้ำๆ กัน เช่น 8 ÷ 2 ความหมายคือ เดิมมีอยู่ 8 หักออกทีละ 2 15 ÷ 3 ความหมายคือ เดิมมีอยู่ 15 หักออกทีละ 3 • รูปแบบของโจทย์การหาร - ปัญหาแบบการวัด - ปัญหาแบบแบ่งส่วน (เฉลี่ย)

  35. รูปปัญหาแบบการวัด • เช่น “มีขนมทั้งหมด 32 ชิ้น จัดใส่กล่องๆ ละ 4 ชิ้น จะต้อง ใช้กล่องทั้งหมดกี่กล่อง” ****นักศึกษามีวิธีการหาผลลัพธ์ยังไง

  36. รูปปัญหาแบบแบ่งส่วน • เช่น “ประเทืองมีสมุด 24 เล่ม เขาแบ่งสมุดให้หลานสี่คน คนละ เท่ากัน หลานแต่ละคนจะได้รับสมุดกี่เล่ม” ****นักศึกษามีวิธีการหาผลลัพธ์ยังไง

  37. โจทย์ปัญหาการคูณ และการหาร • ตารางสรุปรูปแบบโจทย์ปัญหาการคูณ และการหาร

More Related