430 likes | 912 Views
การพัฒนาสติปัญญาด้วยการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน โดย นางอัมรา ธำรงทรัพย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด. จากการสำรวจระดับสติปัญญา ปี 2554. ตารางแสดงผลการจัดอันดับ IQ รายจังหวัด. ทั้ง 4 จังหวัดในเขตเครือข่ายบริการ มี IQ เฉลี่ย < 100 ( สีแดง ).
E N D
การพัฒนาสติปัญญาด้วยการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนการพัฒนาสติปัญญาด้วยการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน โดย นางอัมรา ธำรงทรัพย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
จากการสำรวจระดับสติปัญญาจากการสำรวจระดับสติปัญญา ปี 2554
ตารางแสดงผลการจัดอันดับ IQ รายจังหวัด ทั้ง 4 จังหวัดในเขตเครือข่ายบริการ มี IQ เฉลี่ย < 100 (สีแดง)
ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2555 เป้าหมาย 150 - 249 ไมโครกรัม/ลิตร
ระดับไอโอดีนในปัสสาวะเด็ก 3 – 5 ปี (ไมโครกรัม) (ร้อยละ) จากการสัมภาษณ์ เด็กจะได้บริโภค อาหารทะเล นม ไข่ไก่ สาหร่ายสำเร็จรูป และขนมขบเคี้ยว ทำให้ระดับไอโอดีนปัสสาวะอยู่ในระดับขาดมีไม่มาก แต่ควรระวังในเรื่องได้รับไอโอดีนเกิน
ระดับไอโอดีนในปัสสาวะผู้สูงอายุระดับไอโอดีนในปัสสาวะผู้สูงอายุ ภาวะขาดสารไอโอดีนในผู้สูงอายุ จากการสัมภาษณ์พบว่า อาหารทะเลไม่ชอบบริโภค บริโภคได้น้อย เครื่องปรุงรสส่วนใหญ่ที่ใช้ในการปรุงรสคือปลาร้าและเกลือ ซึ่งเป็นเกลือสินเธาว์ ดังนั้นควรพัฒนาความรู้และความครอบคลุมการใช้เกลือเสริมไอโอดีนและเร่งพัฒนาหมู่บ้านไอโอดีนให้มีคุณภาพ
ภาวะขาดสารไอโอดีนในทารกแรกเกิด(ประเมินจาก TSH) เกณฑ์อย่างหนึ่งที่ใช้ประเมินภาวะขาดสารไอโอดีนในกลุ่มประชากร คือ ร้อยละของจำนวนทารกแรกเกิดที่มี ค่า TSH >11.2 mU/L เป้าหมาย<3 ร้อยละ ข้อมูล กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ขอนแก่น ปีงบประมาณ 2555
แนวโน้มภาวะขาดสารไอโอดีนเครือข่ายที่ 7 ปี พ.ศ. 2550 – 2555 ร้อยละ ปีงบประมาณ แหล่งข้อมูล : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การแบ่งระดับผลไทรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิด (TSH) 1. เกณฑ์ของ WHO ในการเปรียบเทียบกับเขตอื่น ซึ่งเป็นมาตรฐานสากล ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 – 19.9 ร้อยละ 20 – 39.9 > ร้อยละ 40 2.เกณฑ์ที่เครือข่ายที่ ๗ กำหนด เพื่อประเมินความรุนแรง ชี้เป้าจัดการปัญหา ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 - 10 > ร้อยละ 10 สีเหลือง สีเขียว สีฟ้า สีแดง สีเขียว สีเหลือง สีแดง
สถานการณ์ขาดไอโอดีนของทารกแรกเกิด (TSHมากกว่า 11.2 mU/L) ปีงบประมาณ 2555 รายตำบล เครือข่ายที่ 7
ร้อยละการขาดไอโอดีนของทารกแรกเกิด (TSHมากกว่า 11.2 mU/L) ปีงบประมาณ 2555 รายตำบล เครือข่ายที่ 7
สถานการณ์ขาดไอโอดีนของทารกแรกเกิด (TSHมากกว่า 11.2 mU/L) ปีงบประมาณ 2555 รายตำบล เครือข่ายที่ 7
ร้อยละของตำบลที่ทารกแรกเกิดขาดไอโอดีน (TSHมากกว่า 11.2 mU/L) ปีงบประมาณ 2555 เครือข่ายที่ 7
สถานการณ์ขาดไอโอดีนของทารกแรกเกิด (TSHมากกว่า 11.2 mU/L) ปีงบประมาณ 2555 รายตำบล จังหวัดร้อยเอ็ด
ร้อยละค่าTSH >11.2 mU/L ณ เมษายน 2556
การตรวจคุณภาพเกลือ ปี 2556 จำนวนที่ตรวจ 36,653 ครัวเรือน <20ppm 2,660 ( 7.25% ) 20-40 ppm 19,414 ( 52.96% ) > 40 ppm 14,579 ( 39.77 % )
เราจะต้องช่วยกัน เพื่อให้เด็กร้อยเอ็ด ได้รับการป้องกัน จากภาวะสติปัญญาด้อย
ยุทธศาสตร์ การผลิต กระจาย เกลือเสริมไอโอดีน มีคุณภาพ การจัดทำระบบ เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผล โครงการ การใช้มาตรการ เสริม สร้างความเข้มแข็ง ให้ อปท. ภาคีเครือข่าย การศึกษาวิจัย ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ เพื่อการบริโภค เกลือเสริมไอโอดีน
มาตรการแก้ไขปัญหาตามระดับความรุนแรงมาตรการแก้ไขปัญหาตามระดับความรุนแรง
มาตรการแก้ไขปัญหาตามระดับความรุนแรงมาตรการแก้ไขปัญหาตามระดับความรุนแรง
ความคาดหวังในการขับเคลื่อนความคาดหวังในการขับเคลื่อน • ความครอบคลุมของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ ( ≥ 30 ppm) ร้อยละ 90 • ระดับ TSH ทารกแรกเกิดอายุ 2-7 วัน ไม่เกิน 11.2มิลลิกรัม/ลิตร น้อยกว่าร้อยละ 3 • ระดับไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์น้อยกว่า 150 ไมโครกรัม/ลิตร ร้อยละ 50
กิจกรรม • กิจกรรมที่ 1 การจัดมหกรรม “เด็กอีสานจะฉลาด ถ้าไม่ขาดไอโอดีน” • กิจกรรมที่ 2 การจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีน(Iodize oil capsule) • กิจกรรมที่ 3 การเฝ้าระวังภาวะขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์(ตรวจไอโอดีนในปัสสาวะ) • กิจกรรมที่ 4 สื่อและประชาสัมพันธ์ • กิจกรรมที่ 5 ติดตามประเมินผล
การบริหารจัดการการใช้ Iodine oil capsule 1.จัดซื้อยา Iodine oil capsule โดย จังหวัด คำนวณเป้าหมายจากจำนวนหญิงตั้งครรภ์
ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ทั้งจังหวัด 3,439 รายNode 1 เกษตรวิสัย
ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์Node 2 โพนทอง
ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์Node 3 เสลภูมิ
ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์Node 4 สุวรรณภูมิ
ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์Node 5 พนมไพร
ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์Node 6 รพ.ร้อยเอ็ด
2.การจัดเก็บและบริหารการเบิกจ่ายยาที่โรงพยาบาล2.การจัดเก็บและบริหารการเบิกจ่ายยาที่โรงพยาบาล 3.การจ่ายยาแก่หญิงตั้งครรภ์ Kick off วันที่ 3 มิถุนายน 56 ที่ ศูนย์อนามัยที่6 ขอนแก่น
4.แนวทางการจ่ายยาแก่หญิงตั้งครรภ์ที่มา ANC ครั้งแรก ดังนี้ 4.1ให้ความรู้เรื่อง Iodine oil capsule เกี่ยวกับ ประโยชน์ และผลข้างเคียงของการใช้ยา 4.2 ให้หญิงตั้งครรภ์ตัดสินใจเลือกใช้ยา 4.3 ให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานยาต่อหน้าเจ้าหน้าที่ 4.4 ลงบันทึกการให้ยา 2 แห่ง คือ ประทับตรายาง รับยา Iodized oil แล้ว ที่มุมขวาบนของ OPD card และที่สมุดสีชมพู รับยา Iodized oil แล้ว ที่มุมขวาหน้าบันทึกการฝากครรภ์ (หน้า 13) เพิ่มปั๊มตรายางที่กระดาษซับเลือด
ติดตามประเมินผล • ตรวจ Maternal urine Iodine ก่อนและหลัง • ครั้งที่ 1 (ก่อน) ANC ครั้งแรก ครั้งที่ 2 (หลัง) ANC 36 สัปดาห์-หลังคลอดไม่เกิน 1 ด. • จ.ร้อยเอ็ด สุ่มตรวจ 375 ตัวอย่าง(10.90%) โดยศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ขอนแก่น