320 likes | 936 Views
การปฏิบัติเพื่อป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในขอบข่ายงานของ ผู้ช่วยพยาบาลและพนักงานช่วยการพยาบาล. ในเรื่อง การป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ. การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจาก การคาสายสวนปัสสาวะ. การป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัด. วัตถุประสงค์.
E N D
การปฏิบัติเพื่อป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในขอบข่ายงานของ ผู้ช่วยพยาบาลและพนักงานช่วยการพยาบาล • ในเรื่อง • การป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ • การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจาก การคาสายสวนปัสสาวะ • การป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัด
วัตถุประสงค์ ทบทวนความรู้ในเรื่องการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อแบบมาตรฐาน และ การล้างมือ • มีความรู้ และสามารถปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในขอบข่ายงานของ ผู้ช่วยพยาบาลและพนักงานช่วยการพยาบาล • การป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ • การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ • การป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัด
จุดมุ่งหมายของโรงพยาบาลสวนดอกคืออะไรจุดมุ่งหมายของโรงพยาบาลสวนดอกคืออะไร ความปลอดภัยของผู้ป่วย เข้มมุ่ง (จุดมุ่งหมาย) ป้องกันการติดเชื้อ (4) • ลดการติดเชื้อ • ทางเดินหายใจ • ทางเดินปัสสาวะ • แผลผ่าตัด การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ แบบมาตรฐาน การล้างมือ ลดการเกิดเข็มทิ่มตำ
Standard Precaution • ล้างมือ • ถุงมือ • ผ้าปิดปาก ปิดจมูก • เสื้อกาวน์ • อุปกรณ์ของใช่ของผู้ป่วย • การทำความสะอาดสิ่งแวดล้อม • ผ้า • สุ่ขภาพของบุคลากร • Transmission – base • Precautions • การติดเชื้อที่แพร่กระจายทางอากาศ • [Airborne Precautions ] • การติดเชื้อที่แพร่กระจายได้ทางละออง • ในอากาศ[Droplet Precautions ] • การติดเชื้อที่แพร่กระจายได้จาดดารสัมผัส [Contact Precautions ]
Transmission – base Precautions เป็นมาตรการเสริมใช้ในการระมัดระวังป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากผู้ป่วย Airborne Precautions เป็นมาตรการเสริมสำหรับผู้ป่วยที่สงสัย หรือทราบว่ามีการติดเชื้อที่สามารถ แพร่กระจายทางอากาศ เป็นฝอยละอองขนาดเล็กประมาณ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ไมครอน ซึ่งสามารถแขวนลอยอยู่ในอากาศได้นาน และฟุ้งกระจายได้ไกล เช่น หัด สุกใส TB
การจัดการสำหรับผู้ป่วยที่สงสัย หรือทราบว่ามีการติดเชื้อ ที่สามารถ แพร่กระจายทางอากาศ • การจัดผู้ป่วย ผู้ป่วยอยู่ห้องแยกปิดประตูตลอดเวลา กรณีไม่มีห้องแยกจัดให้ผู้ป่วยติดเชื้อชนิดเดียวกันอยู่ห้องเดียวกันได้ • เครื่องป้องกัน Mask 95 • การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
Droplet Precautions • เป็นมาตรการเสริมสำหรับผู้ป่วยที่สงสัยหรือทราบว่ามีการติดเชื้อที่สามารถแพร่กระจายได้ทางละอองในอากาศ เช่นไอ จาม พูด หรือการทำหัตถการ ฝอยละอองจะกระจายได้ไกลในระยะ 3 ฟุต เช่น ไข้หวัด คางทูม ไอกรน คอตีบ ปอดอักเสบ • การจัดผู้ป่วยให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยก / ติดเชื้อชนิดเดียวกันอยู่ด้วยกัน / อยู่ห่างกันเกิน 3 ฟุต • ใส่ maskเมื่อให้การพยาบาลผู้ป่วยระยะไม่เกิน 3 ฟุต • การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ไม่ทำถ้าไม่จำเป็น ถ้าจำเป็นสวมผ้าปิดปากปิดจมูกให้ผู้ป่วย หรือสอนให้ผู้ป่วยใช้ผ้าปิดปากปิดจมูกเวลาไอ/จาม
Contact Precautionsเป็นมาตรการเสริมสำหรับผู้ป่วยที่สงสัยหรือทราบว่ามีการติดเชื้อที่สามารถแพร่กระจายได้จากการสัมผัส • การจัดผู้ป่วยให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยก / ติดเชื้อชนิดเดียวกันอยู่ด้วยกัน • การล้างมือ และการใช้ถุงมือ สวมถุงมือขณะให้การดูแล ถ้าถุงมือเปื้อนมากให้เปลี่ยน หลังถอดถุงมือล้างมือทันทีด้วยน้ำและน้ำยาทำลายเชื้อ • สวม gown • การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ไม่ทำถ้าไม่จำเป็น กรณีเคลื่อนย้ายต้องระวังการปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม • อุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วยแยกเฉพาะราย / ทำลายเชื้อ/ทำให้ปราศจากเชื้อให้ถูกวิธีก่อนนำไปใช้กับผู้ป่วยรายอื่น ๆ
เชื้อประจำถิ่น เชื้ออาศัยอยู่ชั่วคราว
การล้างมือ • การล้างมือตามปกติ • [Normal handwashing] 2. การล้างมือโดยใช้น้ำยาทำลายเชื้อ [hygienic handwashing] 3. การล้างมือในการผ่าตัด [surgical handwashing]
การใช้ Hand Rubbing Alcohol • ใช้ในกรณีทำความสะอาดมือ • อย่างเร่งด่วนหรือบริเวณที่ไม่มีอ่างล้างมือ • ใช้ประมาณ 5 cc หรือปริมาณที่เพียงพอที่จะถูมือทั้ง 2 ข้างให้ทั่วและรอจนกระทั่งน้ำยาบนมือแห้ง ไม่ควรใช้ในกรณีมือเปื้อนสิ่งสกปรกมาก เปื้อนเลือด หรือ สารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วย
การป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ สาเหตุของการเกิด • การสำลักเอาเชื้อบริเวณช่องปากและคอ • สูดหายใจเอาเชื้อเข้าไป • การแพร่กระจายเชื้อจากบริเวณอื่น
การป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ • ในขอบข่ายงานของ PN&HP • การเฝ้าระวัง มีไข้ เสมหะเปลี่ยน • การทำลายเชื้อ และการทำให้อุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจปราศจากเชื้อ • การตัดวงจรการแพร่กระจายชื้อ • - การล้างมือ • - การสวมถุงมือเมื่อต้องสัมผัสอุปกรณ์ที่ปนเปื้อนสารคัดหลั่ง
- สวมเสื้อคลุมหากคาดว่ามีการกระเด็น และเปลี่ยนเมื่อต้องให้การดุแลผู้ป่วยรายอื่น - เปลี่ยนถุงมือและล้างมือเมื่อดูแลผู้ป่วยแต่ละราย หลังจากหยิบจับ หรือสัมผัสอุปกรณ์ที่ปนเปื้อนสารคัดหลั่ง - ปฏิบัติตามมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยเจาะคอ เช่น การทำแผลเจาะคอ - ปฏิบัติตามมาตรฐานในการ Suction Mouth care
การป้องกันการเกิดปอดอักเสบหลังการผ่าตัดการป้องกันการเกิดปอดอักเสบหลังการผ่าตัด - สอนให้ผู้ป่วยหายใจลึก ๆ ก่อนผู้ป่วยจะได้รับการผ่าตัด - หลังการผ่าตัดกระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึก ๆ และเดิน ถ้าไม่มีผลต่อการเจ็บป่วยของผู้ป่วย การดูแลเครื่องช่วยหายใจ • ขจัดน้ำที่ค้างอยู่ในท่อที่ต่อเครื่องช่วยหายใจ • น้ำที่ใช้เติมอุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจควรใช้น้ำปราศจากเชื้อ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการช่วยชีวิตอุปกรณ์ที่ใช้ในการช่วยชีวิต • อุปกรณ์ที่ใช้ในการใส่ท่อช่วยหายใจ • Ambu bag • ล้างมือ • ระหว่างการใช้งาน ทำลายเชื้อบริเวณข้อต่อด้วย 75% alcohol • หลังใช้กับผู้ป่วยแต่ละราย ส่งทำลายเชื้อ
การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจากการป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจาก การคาสายสวนปัสสาวะ เชื้อจุลชีพเข้าสู่ระบบทางเดินปัสสาวะจำการคาสายสวนปัสสาวะได้ 4 ทาง • ปลายสายสวนขณะสวน • บริเวณเยื่อบุท่อปัสสาวะกับสายสวนด้านนอก • รอยต่อระหว่างสายสวน & ถุงปัสสาวะ • ส่วนปลายของถุงเก็บปัสสาวะ
การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะการป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ การล้างมือ การปฏิบัติตามมาตรฐานการใส่สายสวนปัสสาวะ การปฏิบัติตามมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนปัสสาวะ การดูแลให้มีระบบระบายปัสสาวะแบบปิด รักษาระบบให้เป็นแบบปิดอยู่เสมอ ไม่ปลดข้อต่อต่าง ๆ เว้นแต่จำเป็น หากเกิดความบกพร่องให้ปฏิบัติตามเทคนิคปลอดเชื้อ ถุงปัสสาวะอยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ ไม่ควรปล่อยให้ปัสสาวะเต็มถุง ควรเทปัสสาวะทิ้งด้วยวิธีที่ถูกต้อง ปลายท่อเทปัสสาวะต้องห่างจากพื้น
การสวนล้าง ต้องการปัสสาวะจำนวนน้อย ต้องการปัสสาวะจำนวนมาก การเก็บตัวอย่างปัสสาวะ หลีกเลี่ยงการปลดสายสวน P – care อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง / ทุกครั้งที่ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระ
การป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัดการป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัด ก่อนการผ่าตัด • การโกนขนควรโกนทันที/ใกล้เวลาผ่าตัดมากที่สุด • ดูแลให้ผู้ป่วยอาบน้ำทำความสะอาดร่างกาย • ทำความสะอาดบริเวณผ่าตัด • เตรียมผิวหนังให้กว้างพอเพื่อให้สามารถขยายรอยแผลผ่าตัด/บริเวณใส่ท่อระบาย การเตรียมผู้ป่วย
การระบายอากาศ • ประตูห้องผ่าตัดควรปิดตลอดเวลา • จำกัดจำนวนบุคลากรเท่าที่จำเป็น • การทำความสะอาดห้องผ่าตัด • ทำความสะอาดตามมาตรฐาน • เช็ดห้องผ่าตัดหลังจาก case สุดท้าย และก่อนเริ่ม case • อุปกรณ์เครื่องมือผ่าตัดปราศจากเชื้อ • ใช้เทคนิคปลอดเชื้อ ขณะผ่าตัด • บุคลากรในทีมผ่าตัด • ตัดเล็บให้สั้น • การล้างมือ • หลังฟอกมือยกมือขึ้นเพื่อให้น้ำไหลจากปลายนิ้วมือไปยังข้อศอก เช็ดมือด้วยผ้าปราศจากเชื้อ • ไม่สวมเครื่องประดับ
หลังการผ่าตัด • การปฏิบัติตามมาตรฐานการทำแผล • การให้ความรู้ผู้ป่วยและญาติในเรื่องการดูแลแผล • การเฝ้าระวังการติดเชื้อแผลผ่าตัด • ไข้ • แผลบวมแดง/มีหนอง
ตะวันตก เพื่อรอให้ตะวันขึ้นในวันใหม่ การให้ความรู้ครั้งนี้สิ้นสุดลงด้วยเวลา แต่หวังว่าพรุ่งนี้ความรู้จะถูกนำไปปฏิบัติ ขอบคุณค่ะ