1 / 34

หน้าที่รับผิดชอบของ ICWN

หน้าที่รับผิดชอบของ ICWN. เฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล ให้คำแนะนำ ร่วมกับ ICN สืบสวนการระบาดของโรคติดเชื้อ หาวิธีการและปรับปรุงคุณภาพ ดูแลสิ่งแวดล้อม ประสานงานกับ ICN.

benjamin
Download Presentation

หน้าที่รับผิดชอบของ ICWN

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน้าที่รับผิดชอบของ ICWN • เฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล • ให้คำแนะนำ • ร่วมกับ ICN สืบสวนการระบาดของโรคติดเชื้อ • หาวิธีการและปรับปรุงคุณภาพ • ดูแลสิ่งแวดล้อม • ประสานงานกับ ICN

  2. คุณสมบัติของ ICN/ ICWN * มีระเบียบในการทำงาน * มีความเข้มแข็งและสู้งานหนัก * ขยันและสู้งานหนัก * เชื่อถือได้ * ตรงต่อเวลา * คิดเป็นและทำเป็น * ทำงานร่วมกับคนอื่นเป็น * รู้จักกาลเทศะ * มองโลกในแง่ดี

  3. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล หมายถึง การติดตามสังเกตการเกิดการติดเชื้อ ในโรงพยาบาลอย่างมีระบบและต่อเนื่อง

  4. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล วัตถุประสงค์ • ทราบลักษณะการเกิด การกระจาย สถานการณ์ • และแนวโน้มของการติดเชื้อในโรงพยาบาล • ทราบปัญหาและสาเหตุของการติดเชื้อในโรงพยาบาล

  5. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล จุดมุ่งหมาย • ลดความเสี่ยงของการติดเชื้อในโรงพยาบาล • ค้นหาความผิดปกติหรือการระบาดของการติดเชื้อ • ในโรงพยาบาล • นำข้อมูลไปวางแผนและกำหนดมาตรการ • ในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล

  6. ประโยชน์ของการเฝ้าระวังประโยชน์ของการเฝ้าระวัง • ทราบข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล • ประเมินประสิทธิภาพการป้องกันและควบคุมฯ • ดูแลผู้ป่วยมีประสิทธิภาพและคุณภาพมากขึ้น • ส่งเสริมการป้องกันและควบคุมฯ • ร.พ.มีมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วย

  7. การเฝ้าระวังการติดเชื้อ • Hospital-wide surveillance : ICWN : ICN ร่วมกับ IC. Sub com. Prevalence survey ทุกปี ทุกปี (สัปดาห์แรกเดือนมีนาคม)

  8. การเฝ้าระวังการติดเชื้อการเฝ้าระวังการติดเชื้อ • กำหนดนิยามที่ใช้ในการเฝ้าระวัง • บันทึกข้อมูล • รวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูล • เผยแพร่ข้อมูล

  9. ชนิดของการติดเชื้อ (Type of Infections) 1. UTI (Urinary Tract Infection) 2. RI (Respiratory Tract Infection) 3. SSI (Surgical site Infection) 4. BSI (Blood Stream Infection)

  10. Causation of microorganism of NI Pathogenic bacteria Normal flora Endogenous Trans. Environment * Instrument * Drug * Solution

  11. แนวทางการวินิจฉัย

  12. หลักในการวินิจฉัย NI • อาการและการแสดงของผู้ป่วย • ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • การตรวจวินิจฉัยอื่น ๆ • แพทย์วินิจฉัย • ระยะฟักตัวของโรค • ทารกแรกเกิด - มีการติดเชื้อที่ผ่านทางทางคลอด • ผู้ป่วยที่เคยรับการรักษาใน รพ. พิจารณาข้อมูลเก่าร่วม

  13. แนวทางในการค้นหา NI เริ่มต้น ผู้ป่วยทุกคน ติดตาม ประวัติการเจ็บป่วย แผ่นบันทึกอุณหภูมิร่างกาย การรักษาของแพทย์ บันทึกทางการพยาบาล ผลการตรวจต่างๆ ซักถามและสังเกต

  14. ผู้ป่วยที่ควรได้รับการเฝ้าระวังเป็นพิเศษผู้ป่วยที่ควรได้รับการเฝ้าระวังเป็นพิเศษ ได้รับการผ่าตัด มีการสอดใส่เครื่องมือเข้าไปในร่างกาย ได้รับการรักษายาเคมีบำบัดหรือรังสีรักษา ได้รับการรักษาด้วยวิธีการที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ

  15. Urinary Tract Infection : UTI • อาการ 1 อย่าง : ไข้ >38๐C ปัสสาวะกระปริบกระปรอย บ่อย ลำบาก กดเจ็บบริเวณหัวเหน่า ร่วมกับ : ผลการเพาะเชื้อ >=105 colonies/ml และไม่เกิน 2 ชนิด • อาการ 2 อย่าง : • ร่วมกับ : U/A WBC >=10/ml หรือ >=3/hpf : gram stain พบเชื้อ • : U/C พบเชื้อชนิดเดียว 2 ครั้ง retain cath. >=102; • : เพาะเชื้อได้เชื้อชนิดเดียว <=105ได้รับ ABO : แพทย์วินิจฉัย : ให้ ABO

  16. Lower RI Bronchitis Tracheobronchitis Bronchiolitis Tracheitis Upper RI Pharyngitis Laryngitis Epiglottitis Respiratory Tract Infection : RI โดยไม่มีลักษณะของ Pneumonia

  17. Pneumonia • ตรวจพบ Rale หรือเคาะทึบ : เสมหะเปลี่ยนไป ; แยกเชื้อได้จากเลือด ; แยกเชื้อได้จากเสมหะ • CXR : infiltration; consolidation; Cavitation หรือ pleural effusion • เด็ก <12 เดือน : อาการ+การแสดง - หยุดหายใจ ; หายใจมีเสียง wheez, rhonchi ; HR เร็ว - CXR

  18. Surgical Site Infection (SSI) Superficial Incisional SSI Deep Incisional SSI Organ /Space SSI มีการติดเชื้อภายใน 30 วันหลังผ่าตัด หนอง เชื้อก่อโรค อาการ การแสดง ของการติดเชื้อ แพทย์เปิดแผล ยกเว้นเพาะเชื้อ neg. แพทย์วินิจฉัย เปลี่ยน/ปลูกถ่ายอวัยวะ 1 ปี หนอง แผลแยก/ แพทย์เปิดแผล ยกเว้นเพาะเชื้อ neg. ฝีหนองใน deep incision แพทย์วินิจฉัย เปลี่ยน/ปลูกถ่ายอวัยวะ 1 ปี หนอง พบเชื้อก่อโรค ฝีหนอง แพทย์วินิจฉัย เว้น stitch abcess; episiotomy; circumcision; burn

  19. การปฏิบัติที่มีผลต่อการติดเชื้อ SSI • การทำความสะอาดผิวหนังก่อนผ่าตัด • การกำจัดผม/ขน • เครื่องมือ เครื่องใช้ • ระยะเวลาการให้ยาปฏิชีวนะก่อนผ่าตัด • ระยะเวลาการผ่าตัด

  20. Bloodstream Infection : BSI Laboratoey-confirmed • แยกเชื้อได้จากเลือด • มีไข้ >38๐C หนาวสั่น / BP. ต่ำ ร่วมกับ 1 ข้อ - ตรวจพบเชื้อ 2 ครั้ง - เป็นเชื้อประจำถิ่นที่ผิวหนัง แพทย์ให้ ABO - Ag ได้ผลบวก • เด็กอายุ < 12 ปี : ไข้>38๐C /temp<37๐C; : หยุดหายใจ/ HR ช้า

  21. Bloodstream Infection : BSI Clinical sepsis ในทารกแรกเกิดและเด็กเล็ก • มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งหาสาเหตุไม่พบ มีไข้ >38๐C ; BP ต่ำ <90 mmHg ; Urine < 20 ml/hr. ร่วมกับ: เพาะเชื้อไม่ขึ้น/ไม่พบ Ag : ไม่พบการติดเชื้อตำแหน่งอื่น : แพทย์ ให้ ABO

  22. NOSOCOMIAL INFECTION SURVEILLANCE FORM CHIANGMAI UNIVERSITY HOSPITAL Department............... Name.................Age… ……......Sex.……......HN.............................Ward............. Adm. from..............… Date.............................................. Transfer from.....................Date.............................................. Adm.diagnosis.......................................................................................................................................... อาการแรกรับที่เกี่ยวกับ Infection ...............................Infection type non infected CI ............................................................ ..................... NI from...................... site......................... ............................................................................ pathogen.............................................. Operative procedure1............................................ Date................. Doctors............................................... Operative procedure2............................................. Date............... Doctors.................................………... INSTRUMENTATION ON/OFF ON/OFF Urethral cath. Endo/Nasotracheal tube..................................... ( ) Single cath..............................................… Tracheostomy tube............................……….. ( ) Intermittent cath......................................... Respirator....................................................... ( ) Retained cath...........................................… Nebulizer.......................................................... IV cath. NG tube........................................................... ( ) IV line......................................................... Drainage ( ) PLS lock..................................................... ( ) ICD............................................................. ( ) Heparin lock............................................... ( ) Ventriculostomy.......................................... ( ) Cut down..................................................... Others (ระบุ) ........................................... Chemotherapy........................................... Blood exchange........................................ Steroids.................................................… Blood/Blood component transfusion........... Scopes (ระบุ)........................................... Others (ระบุ)..................................................... ............................................................................................. แบบฟอร์มการบันทึกข้อมูล (1) MEDICAL TREATMENTS AND PROCEDURES ON/OFF ON/OFF อาการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับ Infection

  23. แบบฟอร์มการบันทึกข้อมูล (2)

  24. ช่วยบันทึก วันที่ ชื่อ-สกุล อาการ+การแสดง ผลการตรวจ/ผลการเพาะเชื้อ

  25. รวบรวมข้อมูล รายงานผู้ป่วยติดเชื้อในโรงพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ประจำเดือน …………………. หอผู้ป่วย …………….. จำนวนผู้ป่วยจำหน่าย ……… คน จำนวนผู้ป่วยในหอผู้ป่วย ………….คน ชื่อ-สกุล HN วันที่/รับไว้ เพศ อายุ การวินิจฉัยโรค วันที่/ ตำแหน่ง อาการ/การแสดง ผลการเพาะเชื้อ ยาปฏิชีวนะ วันที่/ หมายเหตุ ในโรงพยาบาล ติดเชื้อ การติดเชื้อ จำหน่าย

  26. วิเคราะห์ข้อมูล อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลจำแนกตามหอผู้ป่วย หอผู้ป่วย จำนวนผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในโรงพยาบาล จำนวนผู้ป่วยจำหน่าย จำนวนผู้ป่วย ในหอผู้ป่วย จำนวนครั้งของการติดเชื้อในโรงพยาบาล อุบัติการณ์การติดเชื้อในโรงพยาบาล (%) อัตราความชุก (%) เก่า ใหม่ รวม อุบัติการณ์การติดเชื้อในโรงพยาบาล = จำนวนครั้งของการติดเชื้อใหม่ จำนวนผู้ป่วยจำหน่าย X 100 อัตราความชุกการติดเชื้อในโรงพยาบาล = จำนวนครั้งของการติดเชื้อรวม จำนวนผู้ป่วยในหอผู้ป่วย X 100

  27. อุบัติการณ์การติดเชื้อในโรงพยาบาลต่อจำนวนวันที่ผู้ป่วยนอน รพ. (Patient-day) จำนวนครั้งของการติดเชื้อ ที่เกิดขึ้นใหม่ในเวลาที่กำหนด X ค่าคงที่ จำนวนวันที่ผู้ป่วยนอน รพ. จำนวนวันที่ผู้ป่วยนอน รพ. : จำนวนวันที่ผู้ป่วยที่เฝ้าระวังทั้งหมดนอนใน รพ.แต่ละรายรวมกัน ใช้ในกรณีที่หอผู้ป่วยนั้น มีผู้ป่วยจำหน่ายน้อย หรือนอน รพ. เป็นระยะเวลานาน

  28. Sit specific infection (อัตราการติดเชื้อตามตำแหน่ง) จำนวนครั้งของการติดเชื้อที่ตำแหน่งนั้นๆในระยะเวลาที่กำหนด X ค่าคงที่ จำนวนผู้ป่วยจำหน่ายในระยะเวลาที่กำหนด สัดส่วนการติดเชื้อที่ตำแหน่งต่างๆ : จำนวนครั้งของการติดเชื้อที่ตำแหน่งนั้นๆ X ค่าคงที่ จำนวนครั้งของการติดเชื้อทั้งหมด

  29. อุบัติการณ์การติดเชื้อในโรงพยาบาลจากการใช้อุปกรณ์การแพทย์อุบัติการณ์การติดเชื้อในโรงพยาบาลจากการใช้อุปกรณ์การแพทย์ (Instrument day) จำนวนครั้งของการติดเชื้อในโรงพยาบาลจากการใช้อุปกรณ์ X ค่าคงที่ จำนวนวันที่ผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ อัตราการติดเชื้อจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ = จำนวนครั้ง RI ซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องช่วยหายใจ X 100 จำนวนวันที่ผู้ป่วยทั้งหมดในหอผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ

  30. วิเคราะห์ข้อมูล ตำแหน่งการติดเชื้อจำแนกตามหอผู้ป่วยเดือน ……………… พ.ศ. ….. ตำแหน่งการติดเชื้อจำแนกตามหอผู้ป่วยเดือน ……………… พ.ศ. ….. ชนิดของเชื้อโรค SSI Skin&sub. UTI RI BSI GI Others หอผู้ป่วย SSI Skin&sub. UTI RI BSI GI Others

  31. เผยแพร่ข้อมูล ทุกเดือน หัวหน้างานการพยาบาล หอผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง ทุก 3 เดือน ศูนย์พัฒนาคุณภาพ ทุกปี คณะอนุกรรมกรรมการป้องกันและควบคุม โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ฝ่ายการพยาบาล คณะกรรมการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ในโรงพยาบาล

  32. ด้วยความปรารถนาดี จาก…..พยาบาลควบคุมโรคติดเชื้อ

More Related