1 / 75

Introduction

1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร. Introduction. การจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต อาศัยหลักการและคุณสมบัติต่างๆ ดังนี้ Morphology reproduction base composition. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร. องค์ประกอบของเบสของ DNA ในแบคทีเรีย Species % G+C Content ของ DNA

benjamin
Download Presentation

Introduction

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร Introduction การจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต อาศัยหลักการและคุณสมบัติต่างๆ ดังนี้ • Morphology • reproduction • base composition

  2. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร องค์ประกอบของเบสของ DNAในแบคทีเรีย Species% G+C ContentของDNA Campylobacter fetus32-35 Campylobacter jejuni 31 Klebsiella pneumoniae 56-58 Klebsiella terrigena57

  3. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต ชนิด สกุลครอบครัว อันดับ (Species)(Genus)(Family) อาณาจักร ดิวิชั่นชั้น ** ในด้าน Food Microbiology ไม่นิยมจัดกลุ่ม จุลินทรีย์สูงกว่า Family

  4. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร การตั้งชื่อ (Nomenclature) • binomial nameมี 2 ส่วน • Saccharomyces cerevisiae • Lactobacillusacidophilus • กรณีแบ่งเป็น subspecies จะเขียนชื่อแบบ trinomial • Lactobacillus lactis spp. Lactis

  5. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร • กรณีบ่งบอกความแตกต่างมากขึ้นโดยระบุ specific character serovar = antigenic reaction biovar = producing a specific metabolite phagovar = sensitive to a specific phage เช่นLactococcus lactis spp. lactis biovar diacetilactis

  6. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร • การเขียนชื่อจุลินทรีย์ครั้งแรกเขียนเต็มทั้ง genus และ specie ครั้งที่ 2 เขียนเต็มเฉพาะ specie แต่ genus เขียนตัวย่อ เช่น Listeria monocytogenes L. monocytogenes เกิดความสับสน เช่น Lactobacillus lactis L. lactis Leuconostoc lactis L. lactis ลดการสับสน Lactobacillus lactisLact. lactis / Lb. Lactis Leuconostoc lactis Leu. lactis

  7. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร Development of early Food Microbiology • 1837 Theodor Schwann named the organism involved in sugar fermentation asSaccharomyces(sugar fungus). • 1860 Louis Pasteur showed that fermentation of lactic acid and alcohol from sugar was the result of growth of specific bacteria and yeasts.

  8. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร • 1870 L. Pasteur recommended heating of wine at 62.7 oCfor 30 min to destroy souring bacteria, this method was modified and named pasteurization. • 1878 Joseph Lister isolatedStreptococcus(now Lactococcus) lactisin pure culture by serial dilution from sour milk

  9. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร • 1885 Theodor Escherich isolatedBacterium coli(later namedEscherichia coli) • 1888 A.A. GartnerisolatedBacterium(laterSalmonella)enteritidisfrom the organs of a diseased man as well as from the meat the man ate. • 1895 Marie von Ermengem isolated Bacillus botulinus (Clostridium botulinum)from contaminated meat and proved that it caused botulism

  10. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร ความสัมพันธ์ของจุลินทรีย์ในอาหาร • ก่อให้เกิดโทษ 1. การเน่าเสียของอาหารจากจุลินทรีย์ (Food Spoilage)  visible growth  สร้างโมเลกุลใหญ่ เช่น เมือก สร้างกรด/แก๊ส สร้างกลิ่นไม่พึงประสงค์ เปลี่ยนแปลงสี

  11. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 2. Foodborne diseases (เกิดอาหารเป็นพิษจากจุลินทรีย์) 2.1Intoxicationสารพิษของจุลินทรีย์ในอาหาร เช่น Staphylococcus aureus(enterotoxin) 2.2 Infectionจากเซลล์จุลินทรีย์ที่มีชีวิต เช่นSalmonalla, Escherichia coli 0157 : H7 2.3 Toxicoinfectionจากเซลล์จุลินทรีย์ (สปอร์) ที่มีชีวิต เมื่อรับเข้าไปสร้างสารพิษในร่างกายหลังบริโภค เช่น Clostridium perfringens(enterotoxin)

  12. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร • ก่อให้เกิดประโยชน์ 3. Food Bioprocessing(ผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์) 3.1 จุลินทรีย์เป็นอาหารโดยตรง เช่น ยีสต์ 3.2 จุลินทรีย์ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ เช่น การผลิตกรดน้ำส้มสายชูโดยเชื้อ Acetobacter aceti 4. ดัชนีคุณภาพอาหาร จำนวนและชนิดของจุลินทรีย์ในอาหาร สามารถชี้ให้เห็นความปลอดภัยและคุณภาพของอาหาร เช่น ใช้ Coliform bacteriaบ่งบอกคุณลักษณะของอาหาร

  13. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร แหล่งที่มาของจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในอาหาร • ดินและน้ำ • พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช • อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบอาหาร • จุลินทรีย์จากลำไส้ของมนุษย์และสัตว์ • ผู้สัมผัสอาหาร • อาหารสัตว์ • ขนและหนังสัตว์ • อากาศและฝุ่นละออง

  14. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร จุลินทรีย์ที่มีบทบาทในอาหาร • แบคทีเรีย Bacillus Clostridium Escherichia Lactobacillus Salmonella Staphylococcus • ยีสต์ Cadida Pichia Saccharomyces • รา Aspergillus Fusarium Penicillium Rhizopus Botrytis

  15. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร • แบคทีเรีย ด้านที่เป็นประโยชน์ เช่น starter culture ใช้เพื่อผลิตอาหารหมัก เช่น นมเปรี้ยว บางชนิดใช้ในการผลิต กรดอะมิโน เอนไซม์ บางชนิด เช่น coliform ใช้เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพหรือสุขลักษณะของอาหารและโรงงาน ส่วนด้านโทษ เช่น การทำให้เกิดการเน่าเสียและอาหารเป็นพิษ

  16. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร ลักษณะทั่วไปและโครงสร้างของแบคทีเรีย • Unicellular มีรูปร่าง 3 แบบ คือ กลม (Spherical, cocci) ท่อน (rod) และเกลียว (bacilli) • Motile or non-motile • Cell wall • ส่วนประกอบอื่นๆ เช่น ไรโบโซม • Endospore โครงสร้างที่พบในแบคทีเรียบางชนิด เช่น Clostridium และ Bacillus • Slime layer สามารถสร้างสารเมือกเหนียวล้อมรอบเซลล์

  17. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร

  18. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร กลุ่มแบคทีเรียที่มีความสำคัญทางอาหาร 1. แบคทีเรียผลิตกรดแลคติก (lactic acid bacteria ) • หมักน้ำตาลให้เป็นกรดแลคติกได้เป็นส่วนใหญ่ • แบ่งเป็น 2 พวก คือ Homofermentative หมักแล้วได้กรดแลคติกเป็น ส่วนใหญ่ เช่น Pediococcus, Sterptococcus, Lactobacillus บางชนิด

  19. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร Heterofermentativeหมักน้ำตาลแล้วให้กรด แลคติก เอทานอล อะซิติก เช่น Leuconostoc, Lactobacillus • มีทั้งผลดีและผลเสียต่ออาหาร • ผลดี ได้แก่ ใช้เป็น starter culture ในการผลิตอาหาร เช่น นมเปรี้ยว เนยแข็ง ผักดอง • ผลเสีย ได้แก่ การทำให้อาหารเน่าเสีย เช่น ทำให้เกิดเมือก มีรสเปรี้ยว ขุ่น เป็นต้น

  20. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 2. แบคทีเรียผลิตกรดบิวไทริก(butyric acid bacteria) • เช่น Clostridium หมักคาร์โบไฮเดรตเป็นกรดบิวไทริก และแก๊ส 2 ชนิด คือ CO2และ H2ทำให้เกิดการเน่าเสียในอาหาร

  21. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 3. แบคทีเรียผลิตกรดโพรพิโอนิก (propionic acid forming bacteria) • ส่วนใหญ่อยู่ในสกุล Propionicbacterium เป็นแบคทีเรียที่สร้างกรดโพรพิโอนิกได้ผลิตภัณฑ์หลังการหมัก • สำคัญในการผลิตเนยแข็งสวิส โดยเฉพาะ P. freudenreichii subsp. Shermanii • แยกได้จากนมดิบ, เนยแข็ง และผลิตภัณฑ์นม

  22. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 4. แบคทีเรียผลิตกรดอะซิติก(acetic acid bacteria) • สร้าง acetic acidหรือกรดน้ำส้มสายชูได้ จากการ ออกซิไดส์เอทานอล เช่น Acetobacter และ Gluconobacter • Acetobacteraceti ใช้ผลิตน้ำส้มสายชู แต่ทำให้เกิดรสเปรี้ยวในเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และสร้างเมือกในเบียร์ (G. oxydan subsp. industrius) • ใช้ในการทำวุ้นสวรรค์ (A. xylinum)

  23. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 5. แบคทีเรียชนิดที่ย่อยไขมัน(lipolytic bacteria) • สร้างไลเปสที่ย่อยสลายไขมันให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล เกิดกลิ่นเหม็นหืน • เช่น Clostridium, Pseudomonas, Staphylococcus และ Micrococcus เป็นต้น • แบคทีเรียหลายชนิดที่มีคุณสมบัติในการย่อยโปรตีน จะมีคุณสมบัติในการย่อยไขมันได้ดีด้วย

  24. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 6. แบคทีเรียชนิดที่ย่อยสลายโปรตีน(proteolytic bacteria) • สร้าง proteinase ที่ส่งออกนอกเซลล์(extracellular enzyme) ช่วยย่อยสลายโปรตีนทำให้เกิดกลิ่น • บางชนิดทำให้โปรตีนเน่าเปื่อยได้ในสภาพที่ไม่มี O2 เกิดกลิ่นเหม็นของสารจำพวก อะมีน ไฮโดรเจนซัลไฟด์ สารประกอบอินโดล เมอแคปแตนส์ และกรดไขมัน เรียก putrefactive bacteria เช่น Clostridium, Bacillus, Pseudomonas

  25. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 7. แบคทีเรียชนิดย่อยสลายน้ำตาล(saccharolytic bacteria) • ย่อยสลาย dissacharide และ polysaccharide ไปเป็น monosaccharide เช่น Clostridium และ Bacillus

  26. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 8. แบคทีเรียชนิดย่อยสลายเพกติน (pectolytic bacteria) • สร้างเอนไซม์ pectinase ย่อยเพกตินซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนที่มีในผักผลไม้ pectinase จะย่อยเพกตินทำให้เนื้อเยื่อของพืชอ่อนนุ่มและผลไม้สูญเสียคุณสมบัติในการเกิดเจล • ที่สำคัญ เช่น Erwinia, Clostridium และ Bacillus

  27. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 9. แบคทีเรียในลำไส้ (coliform bacteria) • แกรมลบ ไม่สร้างสปอร์ สามารถหมักน้ำตาลแล็กโทสให้กรดและแก๊สภายใน 48 ชม. เจริญในอุณหภูมิช่วงกว้าง 10 – 45 ซ • ที่สำคัญ เช่น Escherichia และ Enterobacter aerogenes ใช้เป็นดัชนีบ่งชี้คุณภาพอาหารทางด้านสุขาภิบาล และยังทำให้อาหารเน่าเสีย

  28. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 10.แบคทีเรียที่ชอบอุณหภูมิต่ำ (psychrotrophic bacteria) • เจริญได้ดีที่อุณหภูมิตู้เย็น (2-5 ซ ) บางชนิดสามารถเติบโตได้ในที่อุณหภูมิต่ำกว่า 10 ซ สำคัญต่ออาหารที่เก็บในตู้เย็น เช่น ผลิตภัณฑ์นม • เช่น Arthrobacter, Flavobacterium, Alcaligenes เป็นต้น

  29. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 11. แบคทีเรียที่ชอบอุณหภูมิสูง (thermophilicbacteria, thermophile) • มีอุณหภูมิที่เหมาะต่อการเจริญที่ 44 – 45 ซ • เช่น Bacillus sterothermophilus และ B. thermoacidurans เป็นสาเหตุของการเสื่อมเสียของอาหารกระป๋อง กระป๋องที่เกิดการเสื่อมเสียจะมีลักษณะปกติแต่อาหารมีรสเปรี้ยวของกรดแลกติก อะซิติก หรือฟอมิก • Clostridiumsaccharoliticum ทำให้อาหารกระป๋องบวม มีรสเปรี้ยว C.nigrificans จะย่อยอาหารประเภทโปรตีนในสภาพที่ไม่มี O2 ทำให้มีกลิ่นเหม็นและมีสีดำ

  30. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 12. แบคทีเรียที่ทนอุณหภูมิสูง (thermoduricbacteria) • ทนต่ออุณหภูมิสูง เช่น อุณหภูมิในการพาสเจอไรซ์ • ทำให้นมเกิดการเน่าเสีย • Streptococcus thermophilus, Bacillus cereus 13. แบคทีเรียที่สร้างเมือก (slime หรือ rope-formingbacteria) • สร้างเมือกหุ้มเซลล์ ทำให้อาหารมีลักษณะเป็นเมือกหรือเป็นเส้นยางเหนียวๆ เช่น Alcaligenes, Enterobacter,Achromobacter

  31. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 14. แบคทีเรียที่ชอบเกลือ (halophilicbacteria) • ต้องการเกลือในการเจริญ แบ่งได้ 3 พวก คือ • พวกชอบเกลือเล็กน้อย (slightly halophilic bacteria) เจริญได้ดีในอาหารที่มีเกลือ 0.5 – 3 % แยกได้จากอาหารทะเล • พวกชอบเกลือปานกลาง (moderate halophilic) เจริญได้ดีในอาหารที่มีเกลือ 3 –15 % แยกได้จาก ปลาเค็ม เนื้อเค็ม ผักดอง

  32. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร • พวกชอบเกลือสูง (extreme halophilic) เจริญได้ดีในอาหารที่มีเกลือ 15 – 30 % • นอกจากนี้ยังมีพวกทนเกลือ (halotolerant) ที่เจริญได้ดีในสภาพที่มีและไม่มีเกลือ โดยทั่วไปเจริญได้ในอาหารที่มีเกลือ 5 % หรือมากกว่า • เช่น Flavobacterium (3 – 24 %), Vibrio (7 %), Halobacterium และ Halococcus (10 – 20 % หากมีเกลือต่ำจะเกิด autolysis)

  33. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 15. แบคทีเรียที่ชอบน้ำตาล(saccharophilic หรือ osmophilic bacteria) • เจริญในที่มีน้ำตาลความเข้มข้นสูง ส่วนใหญ่ทนน้ำตาล • เช่น Leuconostoc mesenteroides ทำให้เกิดเมือกใน sugar syrup (55 – 60 %)

  34. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 16. แบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของอาหารเป็นพิษ(Food poisoning bacteria) • สร้างสารพิษทั้งชนิดที่ร้ายแรงและไม่ร้ายแรงทำให้เกิดอาหารเป็นพิษและเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค • เช่น Salmonella typhimurium, Clostridium botulinum และ Staphylococcus aureus เป็นต้น • Toxin เช่น Clostridium botulinum(Neurotoxin, Botulinal toxin)S. aureus(Enterotoxin) เป็นต้น

  35. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 17. แบคทีเรียที่สร้างเม็ดสี(pigmented bacteria) • สร้างเม็ดสีได้ ทำให้อาหารมีสีต่างๆ เม็ดสีมีมากมาย เช่น สีขาว เหลือง ส้ม แดง หรือ ดำ • ได้แก่ Flavobacterium (เหลือง), Serratia (แดง), Micrococcus เป็นต้น 18. แบคทีเรียที่สร้างแก๊ส(gas – forming bacteria) • บางชนิดให้ CO2 อย่างเดียว เช่น heterofermentative Leuconostoc • บางชนิดให้ทั้ง CO2 และ H2 เช่น Escherichia, Enterobacter, Proteus, Bacillus และClostridium

  36. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร Probiotics • กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีชีวิต เมื่อเข้าสู่ร่างกายของสิ่งมีชีวิตแล้วก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของสิ่งมีชีวิตนั้น • ค้นพบโดย Elie Metchnikoffนักวิทยาศาสตร์ ชาวรัสเซีย • เช่น Lactobacillus, Bifdobacterium, Streptococcusหรือ Enterococcus

  37. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร ประโยชน์ของ Probiotic • เสริมระบบภูมิคุ้มกัน ยับยั้งการเจริญของ Pathogens • ควบคุมสมดุลย์ของจุลินทรีย์ต่างๆในลำไส้ • ลดอาการท้องเสียสำหรับผู้ดื่มนมไม่ได้ • ลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็ง • ลดระดับคอเลสเทอรอล

  38. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร • เป็นจุลินทรีย์พวก eucaryote ที่เป็นเซลล์เดียว • มีการแตกหน่อ (budding, สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ) โดยการแตกหน่ออาจเป็น unipolar budding , bipolar budding หรือ multilateral budding ซึ่งพบใน Hensenula, Pichia, Candida และ Saccharomyces 2. ยีสต์

  39. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร ยีสต์ที่มีความสำคัญทางอาหาร 1.Brettanomyces • ไม่สร้าง ascospore เจริญที่ pH ต่ำถึง 1.8 • ทำให้เกิดการเสื่อมเสียของเบียร์, ไวน์ soft drinks โดยเกิดการขุ่น มีตะกอนและมีกลิ่นรสผิดปกติ 2.Pichia • โดยทั่วไปสามารถสร้าง film (ฝ้า) บนผิวอาหารเหลว (film yeast)

  40. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 3.Endomycopsis • สร้าง mycelium จำนวนมาก • Endomycopsis fibuligera ทำให้เกิดจุดขาวคล้ายชอล์คขนมปัง (chalky bread) แต่ทำให้เกิดกลิ่นรสที่ดีในอาหารหมัก • ใช้ผลิต single cell protein รวมกับ Candida utilis

  41. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 4.Candida • ไม่สร้าง ascospore • ทำให้อาหารเน่าเสีย เช่น น้ำผลไม้ที่เก็บที่อุณหภูมิต่ำเน่าเสีย ผักดองเกิดฝ้าขาว (C. mycoderma) ยังพบในเนื้อวัวและสัตว์ปีกสดบางชนิด • ใช้ผลิต single cell protein (แหล่งโปรตีน) โดยเฉพาะ C. utilis ซึ่งสามารถใช้วัตถุดิบได้กว้างขวาง เช่น น้ำทิ้งจากโรงงานกระดาษ หางนม เอทานอล ไฮโดรคาร์บอน เป็นต้น

  42. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 5.Kluyveromyces • K. lactis และ K. fragilis ใช้หมักน้ำตาลแลคโตส, ผลิต lactose จากหางนม • K. fragilis ผลิตโปรตีน 6.Hansenula • H. anomala เกิดรสชาติคล้ายเอสเทอร์ในเบียร์ ทำให้ลูกกวาดเสีย • ใช้หมักโกโก้

  43. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 7.Debaryomyces • speices ที่สำคัญคือ D. hansenii ซึ่งเป็น foodborn species และ สามารถเจริญได้ในสภาพที่มีความเข้มข้นของเกลือสูง (15 – 24 %, Salt-tolerant) และค่า Aw ต่ำถึง 0.65 • ทำให้เกิดการเน่าเสียในอาหารที่มีเกลือ เช่น เกิดฝ้าขาวในแตงกวาดอง • นอกจากนี้ยังสร้างเมือกในผลิตภัณฑ์เนื้อ เช่น เบคอน ไส้กรอก • Debaryomyces ทำให้กลิ่นหอมที่ดีในอาหารหมัก เช่น มิโซของญี่ปุ่น

  44. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 8. Rhodotorula • พบในธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ อากาศ ดิน ฝุ่นละออง น้ำทะเล • พบในอาหารหมัก น้ำผลไม้ แฮม เนื้อไก่ อาหารทะเล • เช่น R. glutinis สร้างรงควัตถุได้ ทำให้ผิวหน้าเนย และกะหล่ำปลีดองมีสีชมพู

  45. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 9.Saccharomyces • มีความสำคัญในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม • species ที่สำคัญ เช่น S. cerevisiae เป็น brewers, wine, ยีสต์ขนมปัง และ champage yeast ใช้เป็นแหล่งโปรตีน (single cell protein) และผลิตกรด อะมิโน รวมทั้งเอนไซม์ เช่น sucrase หรือ invertase • S. bailii ทำให้เกิดการเน่าเสียในซอสมะเขือเทศ, มายองเนส, น้ำสลัด, น้ำผลไม้ และไวน์ เป็นต้น • S. rosei และ S. globosusทำให้เกิดฝ้าในผักดอง

  46. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 10. Torulopsis • ทำให้อาหารเน่าเสียโดยเฉพาะพวกที่ชอบน้ำตาล • เช่น T. megoliae ทำให้นมข้นหวานเน่าเสีย T. colliculosa ทำให้ลูกกวาดเน่าเสีย T. cadida พบในกุ้งสด และปลา ส่วน T. lipofera ใช้ผลิตไขมัน (single cell oil)

  47. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 11. Zygosaccharomyces • เป็น strong fermenters of sugars เจริญได้ดีในสภาพที่มีความดันออสโมติกสูง เช่น ความเข้มข้นน้ำตาลหรือเกลือสูง 12. Schizosaccharomyces • ไม่มีการแตกหน่อ แต่มีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวน (fission) • S. pombe, S. octosporus เจริญได้ในที่มีความเข้มข้นน้ำตาลสูง ทำให้น้ำผึ้ง ผลไม้แห้ง ลูกเกดเน่าเสีย

  48. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร กลุ่มยีสต์ที่มีความสำคัญทางอาหาร 1. ยีสต์ที่สร้างฟิล์ม (film-forming yeast) • แบ่งเป็น 3 พวกใหญ่ๆ คือ 1. พวกที่เจริญในน้ำเกลือ พบทั่วไปในน้ำเกลือที่ใช้เก็บรักษาผลิตภัณฑ์ผักดอง และเนื้อสัตว์ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ต้องการ เช่น Debaryomyces 2. พวกที่สองคือที่พบเจริญบนธัญพืช เช่น Mycoderma cerevisiae (ในเบียร์) 3. พวกที่สาม คือยีสต์ที่เจริญบนผลิตภัณฑ์ผลไม้ เช่น Candida

  49. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 2. ยีสต์ที่ชอบน้ำตาล (osmophilic yeast) • เจริญในสภาพที่มีน้ำตาลความเข้มข้นสูง เช่น น้ำผึ้ง แยมผลไม้แห้ง นมข้นหวาน สามารถเจริญได้ที่ค่า water activity ต่ำเช่น Zygosaccharomyces rouxii ทำให้ผลิตภัณฑ์เกิดการเน่าเสีย

  50. 1.บทนำ และ 2.จุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร 3. ยีสต์ที่ทนเกลือ (salt-tolerant yeast) • เจริญได้ในสภาพที่มีเกลือความเข้มข้นสูง เช่น เนื้อเค็ม ปลาเค็ม เต้าเจี้ยว • ยีสต์ที่ทนเกลือมากที่สุดและเป็นพวกสร้างฟิล์ม คือ Debaryomyces (เจริญได้ในน้ำเกลือเข้มข้น 24 %) • ทำให้ผลิตภัณฑ์อาหารเกิดฝ้าขาว และออกซิไดส์กรดทำให้ปริมาณกรดลดลง • แต่บางชนิดทำให้เกิดกลิ่นรสเฉพาะในอาหาร เช่น Saccharomyces rouxii

More Related