1 / 35

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ. การบริหารผลการปฏิบัติงานสำหรับลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ. ครั้งที่ 1 วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม 2554. ณ โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์อินน์ กรุงเทพมหานคร. การเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง. ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

Download Presentation

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเชิงปฏิบัติการการประชุมเชิงปฏิบัติการ การบริหารผลการปฏิบัติงานสำหรับลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ ครั้งที่ 1 วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์อินน์ กรุงเทพมหานคร

  2. การเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำการเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ

  3. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง ระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเลื่อนขั้นค่าจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2544 2. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนพิเศษของข้าราชการและลูกจ้างประจำ ผู้ที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างถึงขั้นสูงหรือใกล้ถึงขั้นสูงฯ ( ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 3. หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0203/ ว 102 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2538 4. หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ด่วนที่สุด ที่ กค 0506.3/ว190 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2545

  4. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง • 1 ปี เลื่อน 2 ครั้ง • ในวันที่ 1 เมษายน • ( ผลการปฏิบัติงาน 1 ต.ค. - 31 มี.ค. ) • ในวันที่ 1 ตุลาคม • ( ผลการปฏิบัติงาน 1 เม.ย. - 30 ก.ย. )

  5. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง การเลื่อนครั้งที่ 1 ( วันที่ 1 เมษายน ) ประเด็นหลัก เลื่อน 1 ขั้น ไม่ให้เกิน 15 % ของจำนวนคนที่อยู่จริงในวันที่ 1 มีนาคม ทั้งกรมฯ

  6. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง ระดับการเลื่อนค่าจ้าง / ค่าตอบแทนพิเศษ1 เมษายน • เลื่อนได้ 1 ขั้น 0.5 ขั้น • ค่าตอบแทนพิเศษ (ค่าจ้างเต็มขั้น) 2% หรือ 4 % • ( 1 ขั้น รวม 4 % ไม่เกินร้อยละ 15 )

  7. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง การเลื่อนครั้งที่ 2 (วันที่ 1 ตุลาคม ) ประเด็นหลัก - เลื่อนภายในวงเงินที่ใช้เลื่อนขั้นทั้งปี ไม่เกิน ร้อยละ 6 ของฐานค่าจ้างลูกจ้างประจำ ณ วันที่ 1 กันยายน - จำนวนคนที่ได้ 2 ขั้น ทั้งปี ไม่เกินร้อยละ 15 ของ จำนวนคนที่อยู่จริง ณ วันที่ 1 มีนาคม

  8. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง ระดับการเลื่อนค่าจ้าง / ค่าตอบแทนพิเศษ1 ตุลาคม • เลื่อนได้ 0.5 ขั้น, 1 ขั้น และ 1.5 ขั้น • ค่าตอบแทนพิเศษ (ค่าจ้างเต็มขั้น) 2% , 4% และ 6% • ( 2 ขั้นทั้งปี รวม 8% ไม่เกินร้อยละ 15 ของจำนวนคนที่อยู่จริง ณ 1 มีนาคม )

  9. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง คุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้เลื่อนขั้นค่าจ้าง 1. เลื่อนค่าจ้างได้ไม่เกินค่าจ้างสูงสุดที่กำหนด 2. สั่งเลื่อนเงินเดือน ณ 1 เม.ย. / 1 ต.ค. ยกเว้น ผู้เกษียณอายุ สั่งเลื่อน 30 ก.ย. 3. กรณีถูกตั้งกรรมการสอบวินัยร้ายแรง ให้รอการเลื่อนขั้นค่าจ้างไว้ (หากถูกลงโทษ ต้องงดเลื่อนขั้นค่าจ้างในรอบการประเมินนั้น) 4. ลาศึกษา/ฝึกอบรม จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน 5. ไม่ถูกสั่งพักราชการเกิน 2 เดือน 6. ไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุอันควร 7. ลาป่วยและลากิจเกิน 10 ครั้ง หรือจำนวนวันลาเกิน 23 วัน หรือมาทำงานสายเกิน 18 ครั้ง 8. ลาไม่เกิน 23 วันทำการ โดยไม่รวมลาอุปสมบท / ลาคลอด / ป่วยจำเป็น (ต้องไม่เกิน 60 วันทำการ) ฯลฯ

  10. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง • 9. แต่ละคนเลื่อนค่าจ้างได้ไม่เกิน 2 ขั้น (ต่อ 1 ปี) • ครั้งที่ 1 เสนอขอเลื่อนขั้นได้ ตามระดับผลการปฏิบัติงาน • - ผลงานระดับดี ขอเลื่อน 0.5 ขั้น • - ผลงานระดับดีเด่น ขอเลื่อน 1 ขั้น • ครั้งที่ 2 เสนอขอเลื่อนขั้นได้ ตามระดับผลการปฏิบัติงาน • - ผลงานระดับดี ขอเลื่อน 0.5 ขั้น • - ผลงานระดับดีเด่น ขอเลื่อน 1 ขั้น • - ผลงานระดับดีเด่น ขอเลื่อน 1.5 ขั้น * • (*ต้องมีผลงานดีเด่น ทั้งครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ) • 10. ผลการประเมิน “ต้องปรับปรุง” ไม่มีสิทธิได้เลื่อนขั้น

  11. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเด็นสำคัญ 1 ตุลาคม 2554 - ประเมินสัดส่วนแบบใหม่ แต่เลื่อนขั้นแบบเดิม - ให้มีคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรมพิจารณา ก่อนนำเสนอผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนขั้นค่าจ้าง • ประเมินการปฏิบัติงานจาก 2 องค์ประกอบ คือ • ผลงาน และ คุณลักษณะการปฏิบัติงาน • 1. ผลงาน ประกอบด้วย • (1) ปริมาณงาน • (2) คุณภาพของงาน • (3) ความทันเวลา • (4) ความคุ้มค่าของงาน • (5) ผลลัพธ์ ประโยชน์ในการนำไปใช้ และประสิทธิผลของงาน

  12. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2. คุณลักษณะการปฏิบัติงาน (1) ความสามารถ และความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน (2) การรักษาวินัย และปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็นลูกจ้างประจำ (3) ความรับผิดชอบ (4) ความร่วมมือ (5) สภาพการมาปฏิบัติงาน (6) การวางแผน (7) ความคิดริเริ่ม สัดส่วนคะแนนการประเมิน 2 องค์ประกอบ - องค์ประกอบ ด้านผลงาน ร้อยละ 70 - องค์ประกอบ ด้านคุณลักษณะการปฏิบัติงาน ร้อยละ 30

  13. แบบฟอร์มการประเมินผลการปฏิบัติงานแบบฟอร์มการประเมินผลการปฏิบัติงาน • ให้ลูกจ้างจัดทำแบบประเมินขึ้นใหม่ ประกอบกับแบบประเมินเดิมที่ใช้ในรอบ แรก เนื่องจากสัดส่วนคะแนนการประเมินเปลี่ยนไป • สัดส่วนคะแนนเปลี่ยนเป็น • - ผลงานร้อยละ70 • - คุณลักษณะการปฏิบัติงาน ร้อยละ 30 • คะแนนสัดส่วนการประเมินเดิม • - ผลงานร้อยละ 80 • - คุณลักษณะการปฏิบัติงาน ร้อยละ 20

  14. ระดับคะแนนผลการประเมินระดับคะแนนผลการประเมิน ระดับคะแนนผลการประเมินที่ใช้สำหรับการเลื่อนขั้น

  15. โควตาในการพิจารณาเลื่อนขั้นโควตาในการพิจารณาเลื่อนขั้น • 1 เมษายน • เลื่อนขั้น 1 ขั้น ได้ไม่เกินโควตา 14% ของจำนวนคนที่อยู่จริง ณ 1 มีนาคม ของแต่ละหน่วย • 1 ตุลาคม (ดูขั้นภาพรวมทั้งปี และวงเงินเป็นเกณฑ์ในการเลื่อน) • - ภาพรวมทั้งปี เลื่อนขั้น 2 ขั้น ได้ไม่เกินโควตา 12% ของแต่ละหน่วย ตามจำนวนคนที่อยู่จริง ณ วันที่ 1 มีนาคม • - เลื่อนได้ภายในวงเงินไม่เกิน 6% ของอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำทั้งกรมฯ ที่อยู่จริง ณ วันที่ 1 กันยายน

  16. โควตาและวงเงินในการพิจารณาเลื่อนขั้นโควตาและวงเงินในการพิจารณาเลื่อนขั้น • วงเงิน 6% ที่ใช้เลื่อนขั้น 1 ตุลาคม • ให้รวมอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำทั้งกรมฯ X6% จะได้จำนวนเงินที่จะใช้เลื่อนขั้นประจำปี • ครึ่งปีแรกใช้เลื่อนไปแล้วเป็นเงินเท่าไรให้หักออก และนำจำนวนเงินที่เหลือไปใช้เลื่อนขั้นครึ่งปีหลัง 1 ตุลาคมโดยให้ทุกคนได้เลื่อนขั้น 1 ขั้นทุกคนก่อน ถ้ามีเงินเหลือให้นำไปเลื่อนให้แก่ผู้ได้เสนอเลื่อนขั้นกรณีดีเด่น คือ ให้ได้เลื่อนเป็น 2 ขั้นทั้งปี ทั้งนี้ภายในโควตา 15% • กรณีมีการเสนอขอเลื่อนขั้น 2 ขั้นทั้งปีมาครบ 15% ให้ไปหักเงิน/ขั้นของผู้เสนอขอขั้นลำดับท้ายของบัญชีมาเป็นเงินในการเลื่อนขั้นให้บุคคลดังกล่าว • ทั้งนี้ต้องกันเงินไว้สำหรับเลื่อนขั้นผู้อยู่ระหว่างสอบสวนทางวินัยด้วย

  17. โควตาและวงเงินในการพิจารณาเลื่อนขั้นโควตาและวงเงินในการพิจารณาเลื่อนขั้น • ตัวอย่าง การคำนวณวงเงิน 6% ในการเลื่อนขั้น 1 ตุลาคม • ค่าจ้างลูกจ้างประจำทั้งกรมฯ ณ 1 ก.ย. จำนวน 500,000 บาท • คิดเงิน 6% คือ 500,000 x 6% = 30,000 บาท • เลื่อนขั้นรอบแรก 1 เม.ย. ใช้เงินไป 14,000 บาท • กันเงินไว้สำหรับผู้อยู่ระหว่างสอบวินัย 2,000 บาท • เหลือเงินใช้เลื่อน 1 ต.ค. = (30,000 – 14,000 – 2,000)= 14,000 บาท

  18. แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้าง (ส่วนกลาง) • แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นลูกจ้างประจำ (ส่วนกลาง) • ให้กองการเจ้าหน้าที่เป็นหน่วยรับผิดชอบในการประสานและพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ ประกอบด้วย 7 หน่วยงาน • (1) สำนักงานเลขานุการกรม • (2) กองคลัง • (3) กองแผนงานและสารสนเทศ • (4) กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ • (5) สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน • (6) สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก • (7) สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติเชียงแสน

  19. แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้าง (ส่วนกลาง) • หน่วยงานในส่วนกลางส่งเอกสารประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเพื่อเสนอคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม พิจาณาต่อไป • แบบที่กำหนด • แบบขอเลื่อนค่าจ้าง 1,1.5 ขั้น หรือ 4%, 6% (กรณีบุคคลค่าจ้างเต็มขั้น) • แบบขอเลื่อน 0.5 ขั้น หรือร้อยละ 2 (กรณีบุคคลค่าจ้างเต็มขั้น) • แบบไม่ขอเลื่อนขั้น (ระบุสาเหตุ) • แบบสรุปสถิติวันลา

  20. แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้าง (ส่วนภูมิภาค) • แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นลูกจ้างประจำ (ส่วนภูมิภาค) • มอบสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค เป็นหน่วยกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานและพิจารณาการเลื่อนขั้นค่าจ้างของลูกจ้างประจำในสังกัด และศูนย์ฯ ในเครือข่าย • คำสั่งกรมฯ 63/2551 ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ในส่วนภูมิภาค • ให้ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานในเครือข่าย เสนอขอเลื่อนขั้นลูกจ้างในสังกัดให้สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคพิจารณากลั่นกรอง ก่อนนำเสนอกรม

  21. แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้าง (ส่วนภูมิภาค) • ให้หน่วยประเมินประกาศรายชื่อผู้มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีเด่นที่ได้เสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้าง 2 ขั้น ทั้งปี ในภาพรวมของหน่วยประเมินให้ทุกหน่วยงานในเครือข่ายทราบโดยทั่วกัน • หน่วยประเมิน (ภาค 1-12) ส่งเอกสารประกอบการพิจารณาให้กรมฯ เพื่อเสนอคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม พิจาณาต่อไป • แบบที่กำหนด • - แบบขอเลื่อนค่าจ้าง 1,1.5 ขั้น หรือ 4%, 6% (กรณีบุคคลค่าจ้างเต็มขั้น) • - แบบขอเลื่อน 0.5 ขั้น หรือร้อยละ 2 (กรณีบุคคลค่าจ้างเต็มขั้น) • - แบบไม่ขอเลื่อนขั้น (ระบุสาเหตุ) • - แบบสรุปสถิติวันลา • - รายงานการประชุม

  22. หลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้าง • กรณีจะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้น ครึ่งขั้น และ2% (ค่าจ้างเต็มขั้น) • ในครึ่งปีที่แล้วมามีจำนวนวันลาไม่เกิน 23 วัน หรือมาทำงานสายไม่เกินกว่า 18 ครั้ง • ยกเว้นวันลาตามระเบียบฯ ข้อ 8(8) เช่น ลาคลอด ลาอุปสมบท ฯลฯ • มีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับเป็นที่ยอมรับได้ (60-69%) • กรณีจะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้น 1 ขั้น และ4% (ค่าจ้างเต็มขั้น) • ในครึ่งปีที่แล้วมามีจำนวนวันลา (ยกเว้นลาพักผ่อน) และมาทำงานสายรวมกัน • ไม่เกิน 10 วัน • มีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีเด่น (90-100%) • กรณีจะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้น 1.5 ขั้น และ6% (ค่าจ้างเต็มขั้น) • ในครึ่งปีที่แล้วมามีจำนวนวันลา (ยกเว้นลาพักผ่อน) และมาทำงานสายรวมกัน • ไม่เกิน 10 วัน • มีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีเด่น (90-100%) • *แต่ผู้นั้นจะต้องอยู่ในหลักเกณฑ์ตามข้อ 12 วรรคสาม

  23. หลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้าง • ความหมายของ ข้อ 12 วรรคสาม (ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2544) • *ในกรณีที่ลูกจ้างประจำผู้ใดมีผลการปฏิบัติงานอยู่ในเกณฑ์ที่ควรจะได้รับการเลื่อนขั้นค่าจ้างครึ่งปีแรกหนึ่งขั้น แต่ไม่อาจสั่งเลื่อนขั้นค่าจ้างหนึ่งขั้นได้ เพราะมีข้อจำกัดเกี่ยวกับจำนวนเงินที่จะใช้เลื่อนขั้นค่าจ้างของส่วนราชการนั้น ถ้าในการเลื่อนขั้นค่าจ้างครึ่งปีหลังลูกจ้างประจำผู้นั้นมีผลการปฏิบัติงานอยู่ในเกณฑ์ได้รับการเลื่อนขั้นค่าจ้างหนึ่งขั้นอีก และไม่มีข้อจำกัดเกี่ยวกับจำนวนเงินที่จะใช้เลื่อนขั้นค่าจ้างในคราวนั้น ผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนขั้นค่าจ้างอาจมีคำสั่งเลื่อนขั้นค่าจ้างรวมทั้งปีของลูกจ้างประจำผู้นั้นเป็นจำนวน สองขั้นได้

  24. หลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้าง • กรณีไม่ได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้าง • ในครึ่งปีที่แล้วมามีจำนวนวันลาเกินกว่า 23 วัน หรือมีจำนวนครั้งการลารวมกัน • เกินกว่า 10 ครั้ง หรือมาทำงานสายเกินกว่า 18 ครั้ง • ยกเว้นวันลา ตามระเบียบฯ ข้อ 8(8) ลาคลอด ลาอุปสมบท ฯลฯ • มีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานในระดับที่ต้องปรับปรุง (ต่ำกว่า 60%)

  25. แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้ (ส่วนกลาง)

  26. แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้ (ส่วนภูมิภาค สพภ.1-12)

  27. ตัวอย่าง 1 เงื่อนไขในการเสนอขอเลื่อนขั้น 2 2 2 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 *สำดับความสำคัญ

  28. ตัวอย่าง 2 เงื่อนไขในการเสนอขอเลื่อนขั้น ไม่เข้าเงื่อนไข 1.5 1.5 2 2 2 1.5 1.5 1.5 ไม่เข้าเงื่อนไข เข้าเงื่อนไข * สำดับความสำคัญ

  29. ตัวอย่าง 3 เงื่อนไขในการเสนอขอเลื่อนขั้น 2 2 2 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 ไม่เข้าเงื่อนไข ไม่เข้าเงื่อนไข * สำดับความสำคัญ

  30. การกรอกแบบขอเลื่อนขั้นการกรอกแบบขอเลื่อนขั้น หน่วยประเมิน สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 2 สุพรรณบุรี 1 เม.ย. 54 จำนวนลูกจ้างประจำอยู่จริง ณ 1 มี.ค. 54 จำนวน 50 คน โควตาเลื่อน 1 ขั้นได้ 14% ได้จำนวน 7 คน 1 ต.ค 54 จำนวนลูกจ้างประจำอยู่จริง ณ 1 มี.ค. 54 จำนวน 50 คน โควตาเลื่อน 2 ขั้นทั้งปี เลื่อนได้ 12%ได้จำนวน 6 คน

  31. ตัวอย่าง การกรอกแบบขอเลื่อนขั้น

  32. ตารางอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำตารางอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำ อัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำ แบ่งบัญชีค่าจ้างออกเป็น 4 กลุ่ม

  33. อัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำ การใช้บัญชีค่าจ้าง 2 กลุ่มบัญชีในการเลื่อนขั้น กรณีขอเลื่อน 0.5 ขั้น แต่ค่าจ้างถึงขั้นสูงของกลุ่มบัญชีซึ่งจะต้องเลื่อนขั้นโดยใช้กลุ่มบัญชีถัดไป ให้เทียบเคียงอัตราค่าจ้างปัจจุบัน กับกลุ่มบัญชีถัดไปที่มากกว่าใกล้เคียงกันและเลื่อนไปอีก 0.5 ขั้น

  34. ตารางอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำตารางอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำ

  35. ? การเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ

More Related