560 likes | 1.09k Views
ระบบการปฏิบัติงานของ สำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองนครนายก. องค์ประกอบ Smart Office 4 มิติ. 1. สถานที่. 4. นักส่งเสริมการเกษตร (Smart Extension Officer). 3. ระบบงาน. 2. อุปกรณ์. MRCF. นักส่งเสริมการเกษตร. ผู้บริหารจัดการพื้นที่. Mapping. M. ผู้นำการเปลี่ยนแปลง. Remote Sensing. R.
E N D
ระบบการปฏิบัติงานของ สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองนครนายก
องค์ประกอบ Smart Office 4 มิติ 1.สถานที่ 4.นักส่งเสริมการเกษตร (Smart Extension Officer) 3. ระบบงาน 2.อุปกรณ์ MRCF
นักส่งเสริมการเกษตร ผู้บริหารจัดการพื้นที่ • Mapping M ผู้นำการเปลี่ยนแปลง • Remote Sensing R MRCF • Community Particpation C • Specific Field Service F
การปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่การปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่
พื้นที่ • อำเภอเมืองนครนายก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพมหานคร ระยะทางห่างจากกรุงเทพประมาณ 107 กิโลเมตร (ถนนสายรังสิต – นครนายก) มีพื้นที่ทั้งหมด 455,076 ไร่ • ทิศเหนือ ติดเขตอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา และอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี • ทิศใต้ ติดเขตอำเภอองครักษ์ และอำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี • ทิศตะวันออก ติดเขตอำเภอปากพลี • - ทิศตะวันตก ติดเขตอำเภอบ้านนาและอำเภอองครักษ์ ที่ตั้งและอาณาเขต
เขตการปกครอง อำเภอเมืองนครนายก แบ่งการปกครองออกเป็น 12 ตำบล 125 หมู่บ้าน ส่วนท้องถิ่นแบ่งเป็น 2 เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล 12 แห่ง
ด้านการเกษตร ปลูกข้าว 12 ตำบล
ด้านการเกษตร มะยงชิด 11 ตำบล
ด้านการเกษตร มะปรางหวาน 10 ตำบล
ด้านการเกษตร มะม่วง 11 ตำบล
ด้านการเกษตร กระท้อน 7 ตำบล
ด้านการเกษตร ลองกอง 4 ตำบล
ด้านการเกษตร ทุเรียน 4 ตำบล
ด้านการเกษตร เงาะ 5 ตำบล
ด้านการเกษตร มังคุด 8 ตำบล
ด้านการเกษตร ส้มโอ 6 ตำบล
ด้านการเกษตร มันสำปะหลัง 2 ตำบล
ด้านการเกษตร ยางพารา 5 ตำบล
ด้านการเกษตร ปาล์มน้ำมัน 2 ตำบล
กลุ่ม/องค์กร ด้านการเกษตรของชุมชน วิสาหกิจชุมชน 99 แห่ง
กลุ่ม/องค์กร ด้านการเกษตรของชุมชน แม่บ้านเกษตรกร 50 กลุ่ม
กลุ่ม/องค์กร ด้านการเกษตรของชุมชน ยุวเกษตรกร 16 กลุ่ม
กลุ่ม/องค์กร ด้านการเกษตรของชุมชน ส่งเสริมอาชีพเกษตรกร กลุ่มส่งเสริมอาชีพ13กลุ่ม
กลุ่ม/องค์กร ด้านการเกษตรของชุมชน กลุ่มแม่บ้าน โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ฯ 12 กลุ่ม
กลุ่ม/องค์กร ด้านการเกษตรของชุมชน ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน 14 ศูนย์
กลุ่ม/องค์กร ด้านการเกษตรของชุมชน ศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชน 29 ศูนย์
การใช้ประโยชน์พื้นที่ตามความเหมาะสมการใช้ประโยชน์พื้นที่ตามความเหมาะสม
มีการปลูกข้าวจริงบนพื้นที่มีการปลูกข้าวจริงบนพื้นที่ พื้นที่ปลูกข้าวนาปี 109,592 ไร่ ผลผลิต 61,371 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 560 กก.ต่อไร่ พื้นที่ปลูกข้าวนาปรัง 58,957 ไร่ ผลผลิต 37,732 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 640 กก.ต่อไร่
โรงสีและจุดรับซื้อข้าวโรงสีและจุดรับซื้อข้าว ในพื้นที่ โรงสีท่าช้างพาณิชย์ กำลังการผลิตประมาณ 300 ตัน/วัน โรงสีข้าวชุมชนบ้านวังยายฉิม กำลังการผลิตประมาณ 2 ตัน/วัน โรงสีข้าวชุมชน ม.1 ต.ศรีจุฬา กำลังการผลิตประมาณ 2 ตัน/วัน โรงสีข้าวชุมชน ม.9 ต.ศรีจุฬากำลังการผลิตประมาณ 2ตัน/วัน
ศูนย์เรียนรู้ด้านการเกษตรศูนย์เรียนรู้ด้านการเกษตร
การใช้ระบบ MRCFในงานส่งเสริมการเกษตรพื้นที่ต้นแบบตำบลดงละคร อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก
ตำบลดงละครมี 13หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านหน้าสนาม หมู่ที่ 2 บ้านหนองกระพ้อ หมู่ที่ 3 บ้านหนองหมู หมู่ที่ 4 บ้านหนองหัวกรวด หมู่ที่ 5 บ้านหินสามก้อน หมู่ที่ 6 บ้านหนองทองทราย หมู่ที่ 7 บ้านคลองโพธิ์ หมู่ที่ 8 บ้านท่าแห หมู่ที่ 9 บ้านหน้ากระดาน หมู่ที่ 10 บ้านกลางดง หมู่ที่ 11 บ้านใต้วัด หมู่ที่ 12 บ้านลำผักบุ้ง หมู่ที่ 13 บ้านหนองปรือ
พื้นที่ทั้งหมด 33,034 ไร่ พื้นที่ทำนา 20,068 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 605 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนใหญ่ทำข้าวนาปี เป็นข้าวเขตน้ำลึก และบางส่วนเป็นข้าวชลประทาน มีการปลูกมะยงชิดในบางพื้นที่ มี หมู่ 3,4,5,6,7,10,11 ปลูก 413 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 800 กิโลกรัมต่อไร่
ศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชนบ้านคลองโพธิ์ศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชนบ้านคลองโพธิ์ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 31/1 หมู่ 7 ตำบลดงละคร อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก
วิเคราะห์ปัญหาของกลุ่มเป้าหมายวิเคราะห์ปัญหาของกลุ่มเป้าหมาย ต้นทุนการผลิตสูง มีรายได้จากการทำนาไม่คุ้มทุน มีปัญหาด้านสุขภาพจากการใช้สารเคมี แนวทางแก้ปัญหา ลดต้นทุนการผลิต การทำแปลงขยายพันธุ์ การตลาด(แหล่งจำหน่าย,ประชาสัมพันธ์) ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวได้(พันธุ์พื้นเมือง)
M: Mapping ข้อมูลการเกษตร • ข้อมูลกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม • ข้อมูลการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของศูนย์ข้าวชุมชน • ข้อมูลเกษตรกรสมาชิก • ต้นทุนการผลิตข้าว ข้อมูลแผนที่ • ขอบเขตการปกครอง • แหล่งน้ำ ถนน • ชุดดิน/ความเหมาะสมของดิน • พิกัดที่ตั้งศูนย์ข้าวชุมชน/ แปลงสมาชิก / แปลงผลิตเมล็ดพันธุ์
การใช้ประโยชน์ที่ดินของตำบลดงละครการใช้ประโยชน์ที่ดินของตำบลดงละคร
ระดับความเหมาะสมของดินสำหรับการปลูกข้าวระดับความเหมาะสมของดินสำหรับการปลูกข้าว
ที่ทำการศูนย์ข้าวชุมชน/บ้านสมาชิก/แปลงนาสมาชิกที่ทำการศูนย์ข้าวชุมชน/บ้านสมาชิก/แปลงนาสมาชิก
R: Remote Sensing • การจัดทำแผนการถ่ายทอด • การสื่อสารทางโทรศัพท์ • การสื่อสารด้วยระบบอินเตอร์เน็ต เช่น Website/Facebook/E-mail สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองนครนายก • เผยแพร่ข้อมูลและความรู้ด้านการเกษตรผ่านทาง Social Network
http://mueang.nakhonnayok.doae.go.th E-mail: nayok001@hotmail.com
C: Community Participation การบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาคี/เครือข่าย ส่วนราชการ • สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองนครนายก • สำนักงานเกษตรจังหวัดนครนายก • ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หนองทองทราย ตำบลดงละคร • องค์การบริหารส่วนตำบลดงละคร กลุ่มเกษตรกร • ศูนย์ข้าวชุมชน / ศบกต. / อกม. ในการดำเนินการโครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐานด้านความปลอดภัยจากสารเคมีเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปี 2557 หน่วยเคลื่อนที่คลินิกหมอข้าว และศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
มีการบูรณาการร่วมกันระหว่างสำนักงานเกษตรอำเภอเมือง สำนักงานเกษตรจังหวัดนครนายกและศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี โดยมีหน่วยเคลื่อนที่คลินิกหมอข้าวให้บริการแก่สมาชิกศูนย์ข้าว และเกษตรกรทั่วไป ในการแก้ปัญหาทางด้านโรคและแมลงศัตรูพืช
สาธิตการทำเชื้อจุลินทรีย์ เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า เชื้อราบิวเวอร์เรียให้กับสมาชิกศูนย์ข้าวฯ
สุ่มตรวจแมลงศัตรูพืชในแปลงนาของสมาชิกศูนย์ข้าวฯสุ่มตรวจแมลงศัตรูพืชในแปลงนาของสมาชิกศูนย์ข้าวฯ
มีการตรวจวิเคราะห์ แมลงศัตรูพืชในแปลงนา
ศึกษาดูงาน • ศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชนบ้านหนองตะลุมพุก ต.บ้านพริก อ.บ้านนา • ศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชนบึงหลุมบัว ต.พระอาจารย์ อ.องครักษ์
F: Specific Field Service • ดำเนินการกับศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชนบ้านคลองโพธิ์ สมาชิก 45 ราย “มีการเชื่อมโยงเครือข่ายกับศูนย์ข้าวชุมชนทั้งในและนอกพื้นที่” • เป้าหมายในการพัฒนา • เพิ่มราคาผลผลิตโดยการจำหน่ายเป็นเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี • ลดต้นทุนการผลิต โดยการเก็บพันธุ์ข้าวปลูกไว้ใช้ในฤดูกาลต่อไป • ลดการใช้สารเคมี โดยใช้สารชีวภาพ เพื่อลดสารเคมีที่ตกค้างในร่างกาย
ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิต เกษตรกรมีสุขภาพดีขึ้น เนื่องจากมีการใช้สารอินทรีย์แทนสารเคมี มีรายได้เพิ่มขึ้น