1 / 28

ddki

ยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเหนือ : การพัฒนาประตูการค้าภาคเหนือ. ddki. นายสุรพันธุ์ จุ่นพิจารณ์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคเหนือ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 27 กุมภาพันธ์ 2547 ณ โรงแรมริมกกรีสอร์ท จ.เชียงราย. ที่ตั้งของภาคเหนือ.

bayle
Download Presentation

ddki

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเหนือยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเหนือ : การพัฒนาประตูการค้าภาคเหนือ ddki นายสุรพันธุ์ จุ่นพิจารณ์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคเหนือ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 27 กุมภาพันธ์ 2547 ณ โรงแรมริมกกรีสอร์ท จ.เชียงราย

  2. ที่ตั้งของภาคเหนือ

  3. ภาคเหนือตอนบน • พื้นที่ 106 ล้านไร่ 33 % ของประเทศ • ป่า 61.3 ล้านไร่ 57% ของป่าไม้ประเทศ • แหล่งน้ำสำคัญ 1 ใน 3 ของประเทศ • ที่ราบจำกัด18.7 ล้านไร่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ พะเยา น่าน ลำพูน แพร่ ลำปาง ลาว Laos อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก ตาก พม่า Myanmar กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ภาคเหนือตอนล่าง

  4. สัดส่วน GRP : GDP ร้อยละ NE N S E W C BKK&V

  5. โครงสร้างสาขาการผลิตภาคเหนือโครงสร้างสาขาการผลิตภาคเหนือ 2535 2544 STRUCTURE OF GROSS REGIONAL PRODUCT 27 % GRP =454,401 ล้านบาท

  6. การค้าระหว่างประเทศภาคเหนือการค้าระหว่างประเทศภาคเหนือ 9

  7. การค้าระหว่างประเทศภาคเหนือการค้าระหว่างประเทศภาคเหนือ 9

  8. โครงสร้างการค้าชายแดนโครงสร้างการค้าชายแดน มูลค่า 1,905.8 ล้านบาท มูลค่า 8,722.0 ล้านบาท

  9. การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาการวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนา • จุดแข็ง • ที่ตั้งและโครงข่ายคมนาคมขนส่งมีความได้เปรียบ • เศรษฐกิจมีความหลากหลาย • มีพื้นที่เกษตรที่มีระบบชลประทานสมบูรณ์ 4 ล้านไร่ในภาคเหนือตอนล่าง • สามารถใช้ความรู้วิชาการจากสถาบันการศึกษา • จุดอ่อน • ทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะแหล่งต้นน้ำลำธาร ป่าไม้ถูกทำลาย • การขยายพื้นที่การเกษตรมีจำกัด มีการปลูกพืชเชิงเดี่ยวสูง • ฐานอุตสาหกรรรมกระจุกตัวในจังหวัดศูนย์กลาง • แรงงานมีการศึกษาต่ำ ร้อยละ 74 มีการศึกษาระดับประถม • ประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นและวัยทดแทนแรงงานลดลง

  10. การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาการวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนา • โอกาส • สามารถเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของประเทศกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง 6 ประเทศ • ฐานการผลิตด้านการเกษตรเพื่อส่งออกไปจีนจาก FTA • แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติศิลปวัฒนธรรมล้านนา แหล่งโบราณสถาน มรดกโลกที่สามารถเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน • นำความรู้จากสถาบันทางวิชาการมาใช้เพิ่มศักยภาพด้านการเกษตรสาธารณสุขและอุตสาหกรรมสารสนเทศ ข้อจำกัด • มีปัญหาความมั่นคงตามแนวชายแดน • การผลิตที่ใช้แรงงานเป็นหลักแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านไม่ได้

  11. ประเด็นปัญหาท้าทายของภาค ประเด็นปัญหาท้าทายของภาค • ด้านทรัพยากรมนุษย์ • 1)ผลกระทบจากโครงสร้างประชากรที่มีการเพิ่มประชากรต่ำ • ประชากรเข้าสู่แรงงานต่ำลง • ภาระจากผู้สูงอายุมีมากขึ้น • การเร่งพัฒนาแรงงานใหม่เข้าสู่ฐานเศรษฐกิจใหม่ที่มีอนาคต- ICTธุรกิจสุขภาพ • ด้านทรัพยากรธรรมชาติ • การพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติในการผลิต • การใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการท่องเที่ยว

  12. ประเด็นปัญหาท้าทายของภาค ประเด็นปัญหาท้าทายของภาค ด้านเศรษฐกิจ 1) การเตรียมการรองรับการแข่งขัน การค้าเสรีและการค้าชายแดน 2) การยกระดับการพัฒนา - ฐานเศรษฐกิจของภาคเดิมท่องเที่ยว เกษตร SMEs - มุ่งสู่ฐานเศรษฐกิจใหม่เพื่อการแข่งขันที่มีโอกาส เช่น Software ธุรกิจสุขภาพ การค้า ด้านสังคม 1) การเป็นแหล่งพักและเส้นทางผ่านของยาเสพติด 2) การแก้ปัญหาความยากจน - ความแตกต่างรายได้ภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร - ความยากจนในชนบทห่างไกล

  13. การวางบทบาทการพัฒนาภาคเหนือการวางบทบาทการพัฒนาภาคเหนือ ภาคเหนือตอนบน ใช้ฐานแข็งแกร่งในสาขาบริการโดยเฉพาะการท่องเที่ยวเป็นฐานหลักควบคู่การพัฒนาหัตถอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมที่ปราศจากมลพิษ เกษตรปราณีต และให้เป็นฐานด้านการค้าซึ่งเป็นประตูเชื่อมโยงกับประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนบน ทั้งทางน้ำ ทางบก ทางอากาศ

  14. การวางบทบาทการพัฒนาภาคเหนือการวางบทบาทการพัฒนาภาคเหนือ ภาคเหนือตอนล่าง ใช้ฐานแข็งแกร่งด้านการเกษตรชลประทานสร้างรายได้มูลค่าเพิ่มโดยใช้อุตสาหกรรมอาหารควบคู่กับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงโบราณสถาน ใช้ประโยชน์จากการเป็นสี่แยกอินโดจีนพัฒนาการค้าและอุตสาหกรรม รับช่วงจากกทม. และพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก และเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน

  15. จีน ไต้หวัน บังคลาเทศ  ลาว  สิงคโปร์ พม่า กัมพูชา แม่สาย เชียงแสน ภาคเหนือตอนบน เชียงของ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา ห้วยโก๋น เชียงใหม่ น่าน ลำพูน แพร่ ลำปาง ลาว Laos อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก ตาก แม่สอด มุกดาหาร พม่า Myanmar กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ภาคเหนือตอนล่าง

  16. ท่องเที่ยว หัตถกรรม

  17. ยุทธศาสตร์ที่ 1ใช้ศักยภาพแหล่งที่ตั้งและความพร้อมของโครงสร้างบริการพื้นฐานที่มีอยู่สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับนานาชาติ สร้าง ฐานเศรษฐกิจ ใหม่ แนวทาง • ขยายฐานทางเศรษฐกิจด้านการค้าของภาคเหนือ • เสริมสร้างศักยภาพด้านอุตสาหกรรมบริการให้สามารถเป็นแหล่งรายได้ใหม่ของภาค • พัฒนาหลักสูตรในการสร้างผู้ประกอบการใหม่และแรงงานเพื่อรองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจใหม่ของภาคเหนือ

  18. ยุทธศาสตร์ที่ 1ใช้ศักยภาพแหล่งที่ตั้งและความพร้อมของโครงสร้างบริการพื้นฐานที่มีอยู่สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับนานาชาติ สร้างฐานเศรษฐกิจ ใหม่ • แนวทางที่ 1 ขยายฐานทางเศรษฐกิจด้านการค้าของภาคเหนือ โดยดำเนินการดังนี้ • ระยะเร่งด่วน (พ.ศ.2546-2547) • พัฒนาท่าเทียบเรือที่อ.เชียงแสนจ.เชียงราย • ปรับปรุงระบบโครงข่ายถนนที่เชื่อมโยงระหว่างท่าเรือกับโครงข่ายหลัก • พัฒนาอ.แม่สอดจ.ตากเพื่อให้เป็นเมืองประตูการค้าทางบก ระหว่างประเทศไทยกับประเทศสหภาพพม่าและเชื่อมโยงกับ ประเทศบังคลาเทศและอินเดีย

  19. ยุทธศาสตร์ที่ 1ใช้ศักยภาพแหล่งที่ตั้งและความพร้อมของโครงสร้างบริการพื้นฐานที่มีอยู่สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับนานาชาติ สร้างฐานเศรษฐกิจ ใหม่ • ระยะปานกลาง (พ.ศ.2546-2550) • เร่งรัดจัดทำแผนการใช้ที่ดินและผังเมืองเฉพาะในเขตอ.เชียงแสนจ.เชียงรายและอ.แม่สอดจ.ตาก • จัดทำแผนการจัดระเบียบด้านสังคมของเมืองเพื่อป้องกันปัญหาชุมชนแออัดและปัญหาสังคมในอนาคต

  20. ยุทธศาสตร์ที่ 1ใช้ศักยภาพแหล่งที่ตั้งและความพร้อมของโครงสร้างบริการพื้นฐานที่มีอยู่สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับนานาชาติ สร้างฐานเศรษฐกิจ ใหม่ • ระยะปานกลาง (พ.ศ.2546-2550) • จัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษที่รวมทั้งด้านอุตสาหกรรมและด้านบริการที่จ.เชียงรายและอ.แม่สอดจ.ตาก • พัฒนาเมืองชายแดนต่างๆได้แก่อ.แม่สายอ.เชียงของอ.เชียงแสนจ.เชียงรายอ.แม่สอดจ.ตากและเฉลิมพระเกียรติจ.น่านเสริมการเป็นประตูการค้าและฐานการผลิตร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน

  21. ยุทธศาสตร์ที่ 1ใช้ศักยภาพแหล่งที่ตั้งและความพร้อมของโครงสร้างบริการพื้นฐานที่มีอยู่สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับนานาชาติ สร้างฐานเศรษฐกิจ ใหม่ • ระยะปานกลาง (พ.ศ.2546-2550) • ศึกษาเพื่อจัดตั้งศูนย์การเดินเรือ ต่อเรือและซ่อมบำรุงสำหรับเรือสินค้าในแม่น้ำโขงที่อ.เชียงแสนจ.เชียงรายเพื่อสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพการเดินเรือในแม่น้ำโขงของไทย

  22. ยุทธศาสตร์ที่ 1ใช้ศักยภาพแหล่งที่ตั้งและความพร้อมของโครงสร้างบริการพื้นฐานที่มีอยู่สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับนานาชาติ สร้างฐานเศรษฐกิจ ใหม่ • ระยะปานกลาง (พ.ศ.2546-2550) • ขยายถนนเป็น 4 ช่องทางการจราจรในช่วงที่ยังไม่ดำเนิน การจากอ.เชียงแสนมาถึงอ.แม่จันจ.เชียงรายเพื่อเชื่อมเส้นหลักสำหรับการขนส่งสินค้า • สร้างหลักสูตรที่เกี่ยวข้องด้านการค้า การเดินเรือในแม่น้ำโขง

  23. การสัมมนา การแปลงยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ของภาคเหนือไปสู่การปฎิบัติ: การพัฒนาประตูการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน การจัดสัมมนาครั้งนี้จะเป็นการแปลงยุทธศาสตร์ที่ 1 เรื่องการใช้ศักยภาพแหล่งที่ตั้งและความพร้อมของโครงสร้างบริการพื้นฐานที่มีอยู่สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับนานาชาติ ทางด้านประตู (gateway) ที่สำคัญ - ตอนบนสุด ที่อำเภอแม่สายอำเภอเชียงแสน และอำเภอเชียงของจังหวัดเชียงราย - ด้านตะวันออกที่อำเภอห้วยโก๋นจังหวัดน่าน - ด้านตะวันตกที่อำเภอแม่สอดจังหวัดตาก และทางอากาศ จ.เชียงใหม่

  24. การสัมมนา การแปลงยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ของภาคเหนือไปสู่การปฎิบัติ: การพัฒนาประตูการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน วัตถุประสงค์การสัมมนา 1.เพื่อระดมความคิดเห็นและเกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเหนือยุทธศาสตร์ที่ 1 แนวทางที่ 1 ให้สอดคล้องกับศักยภาพโอกาสและความต้องการของประชาชนในภาค 2. สามารถดำเนินการหาผู้รับผิดชอบการดำเนินการและจัดทำแผนปฏิบัติการได้ชัดเจนมีระยะเวลาดำเนินการและเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริงมีแผนปฏิบัติการเพื่อนำเสนอขอความเห็นชอบต่อครม. ต่อไป

  25. การสัมมนา การแปลงยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ของภาคเหนือไปสู่การปฎิบัติ: การพัฒนาประตูการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. การมีส่วนร่วมของภาคีต่างๆในการร่วมคิดเสนอแนะแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเหนือยุทธศาสตร์ที่ 1 แนวทางที่ 1 2. มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเหนือชัดเจนเพื่อนำเสนอครม. ให้ความเห็นชอบ เพื่อดำเนินการต่อไป

  26. “Economic Gateway” North-ness Lifestyle Competitive Real Sector Go International ภาคเหนือในอนาคต ยุทธศาสตร์พัฒนา ขีดความสามารถใน การแข่งขันภาคเหนือ

More Related