370 likes | 523 Views
รายงานผลการวิจัยเรื่อง แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุด มหาวิทยาลัย. นางมัณฑนา เจริญแพทย์ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ. รายงานผลการวิจัยเรื่อง แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย. ที่มาของ ปัญหา. - ราคา ค่าบอกรับสูงขึ้นทุก ปี
E N D
รายงานผลการวิจัยเรื่องรายงานผลการวิจัยเรื่อง แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย นางมัณฑนา เจริญแพทย์ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ที่มาของปัญหา • - ราคาค่าบอกรับสูงขึ้นทุกปี • - ห้องสมุดมีปัญหาเรื่องพื้นที่จัดเก็บ แม้ว่าจะ .... - ยกเลิกบอกรับฉบับพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์หรือฐานข้อมูลออนไลน์ - ทำคลังเก็บสิ่งพิมพ์ที่มีการใช้น้อย - จำหน่ายออก
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ • 1. เพื่อศึกษาสภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • 2. เพื่อศึกษาวิธีการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • 3. เพื่อกำหนดแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ความสำคัญของการวิจัย • 1. ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพการดำเนินงานเกี่ยวกับวารสารฉบับล่วงเวลา • 2. วิธีการจัดการ แนวทางการจัดการที่สามารถนำไปขยายผลใช้ให้เหมาะสม • กับห้องสมุดแต่ละแห่ง
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ขอบเขตของการวิจัย • ประชากร • ผู้บริหารห้องสมุดและหัวหน้าฝ่ายวารสารของห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ • 25แห่ง กลุ่มตัวอย่าง ผู้บริหารห้องสมุดและหัวหน้าฝ่ายวารสาร โดยสุ่มแบบเฉพาะเจาะจงจากห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐที่เป็นสมาชิก กลุ่มคณะทำงานฝ่ายวารสารฯ 23แห่ง
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย นิยามศัพท์เฉพาะ • - สภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลา • สภาพเป็นจริงเรื่องรูปแบบและนโยบาย วิธีการจัดการ • ข้อมูล: การสัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย นิยามศัพท์เฉพาะ • - วิธีการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลา • วิธีการในการจัดการเรื่องนโยบายการจัดการ การบอกรับการจัดเก็บ การแปลงรูปวารสาร • ข้อมูล: การสัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย นิยามศัพท์เฉพาะ • - แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลา • แนวทางเรื่องนโยบายการจัดการ การดำเนินงาน วิธีการและปัญหาการจัดเก็บในรูปแบบต่างๆ แนวโน้มของการจัดการ เช่น การแปลงรูป การจัดทำคลังสิ่งพิมพ์ร่วมกัน
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย นิยามศัพท์เฉพาะ • - หัวหน้าฝ่ายวารสาร • บรรณารักษ์ที่เป็นหัวหน้าฝ่ายวารสาร หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบงานวารสาร
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย • แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 2 ชุด • - ผู้บริหารห้องสมุด • - หัวหน้าฝ่ายวารสาร
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ขั้นตอนของการสร้างเครื่องมือ • 1. ศึกษาข้อมูล จากเอกสาร ตำราและงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการ วารสารฉบับล่วงเวลา • (รูปแบบ วิธีการ แนวทางการแก้ไขปัญหาเรื่องพื้นที่ในการจัดเก็บ)
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ขั้นตอนของการสร้างเครื่องมือ • 2. สร้างแบบสัมภาษณ์ • - หัวหน้าฝ่ายวารสาร ข้อคำถาม : สภาพของการดำเนินงานวารสารฉบับล่วงเวลา • ที่ปรึกษาโครงการ • - ผู้บริหารห้องสมุด : ข้อมูลจากการสัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร ข้อมูลจากเอกสาร • สังเคราะห์เป็นข้อคำถาม ที่ปรึกษาโครงการ
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย การเก็บรวบรวมข้อมูล • หัวหน้าฝ่ายวารสาร : ไปรษณีย์ • ผู้บริหารห้องสมุด ไปเอง เฉพาะกทม. และปริมณฑล 11 แห่ง • ไปรษณีย์ สำหรับต่างจังหวัด 12 แห่ง
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย การวิเคราะห์ข้อมูล • 1. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) นำเสนอในรูปตารางแสดงค่าร้อยละ • 2. นำผลการวิเคราะห์ข้อมูลในข้อ 1 มาสรุปเพื่อกำหนดเป็นแนวทางการจัดการวารสาร
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ผลการวิจัยพบว่า
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย สภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • ข้อมูลได้มาจากการสัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร 1. รูปแบบของวารสารที่มีให้บริการ - ห้องสมุดทุกแห่งมีวารสารฉบับพิมพ์ให้บริการ - รองลงมาคือ รูปแบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย สภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • ข้อมูลได้มาจากการสัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร 2. นโยบายการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลา - ส่วนใหญ่ไม่มีนโยบาย มีเพียง 3 แห่งเท่านั้นที่มี
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย สภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • ข้อมูลได้มาจากการสัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร 3. วิธีการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาในปัจจุบัน ประเภทที่จัดเก็บมากที่สุด - วารสารวิชาการ (ร้อยละ 69.57) - วารสารที่ทำดรรชนี (ร้อยละ 65.22) - วารสารที่ห้องสมุดจัดซื้อ (ร้อยละ 47.83)
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย สภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • ข้อมูลได้มาจากการสัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร 4. เกณฑ์ที่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยใช้พิจารณาในการจัดเก็บ - การกำหนดปีของวารสารที่จัดเก็บ (ร้อยละ 52.17) - พิจารณาจากสถิติการใช้ (ร้อยละ 43.48)
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย สภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • ข้อมูลได้มาจากการสัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร 5. วิธีการจัดเก็บวารสารฉบับล่วงเวลา ห้องสมุดทุกแห่ง จัดเก็บวารสารตามลำดับชื่อ
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย สภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • ข้อมูลได้มาจากการสัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร 6. การแปลงรูปวารสารฉบับล่วงเวลา ส่วนใหญ่ไม่ได้แปลงรูป (ร้อยละ 86.95)
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย สภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • ข้อมูลได้มาจากการสัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร 7. สถานที่จัดเก็บวารสารฉบับล่วงเวลา ส่วนใหญ่มีห้องจัดเก็บโดยเฉพาะอยู่ในห้องสมุด (ร้อยละ 91.30) มีคลังจัดเก็บโดยเฉพาะและเช่าจากเอกชน อย่างละ 1 แห่ง
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด 1. ความจำเป็นของห้องสมุดในการเก็บตัวเล่มวารสารฉบับล่วงเวลา จำเป็นต้องเก็บตัวเล่มไว้ (ร้อยละ 66.70) เพราะ - วารสารภาษาไทยบางรายการ ยังไม่มีการทำในรูปอิเล็กทรอนิกส์ - พฤติกรรมการอ่านของผู้ใช้ ยังชอบอ่านจากตัวเล่ม - นโยบายของมหาวิทยาลัยให้เก็บวารสารของมหาวิทยาลัยในรูปเล่ม
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด 2. กรณีที่ต้องจัดเก็บตัวเล่มเอาไว้ ต้องมีนโยบายในการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาหรือไม่ ทุกแห่งเห็นว่า หากต้องเก็บตัวเล่ม จำเป็นต้องมีนโยบาย
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด 3. องค์ประกอบของนโยบาย - ประเภทของวารสารที่เก็บ : วารสารวิชาการ วารสารที่ทำดรรชนี - รองลงมาคือ พิจารณาจากเนื้อหาของวารสารเช่น เป็นวารสารที่ทรงคุณค่า วารสารของมหาวิทยาลัย
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด 4. ความคิดเห็นของผู้บริหารห้องสมุดที่มีต่อวิธีการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลา 3 ด้าน 4.1 ด้านการบอกรับ ทุกแห่ง สร้างภาคีการบอกรับฐานข้อมูลวารสารออนไลน์ รองลงมา ยกเลิกรับฉบับพิมพ์ หากมีชื่ออยู่ในฐานข้อมูล สุดท้าย ยกเลิกรับฉบับพิมพ์และรับรูปอิเล็กทรอนิกส์แทน แต่ทั้งนี้ สำนักพิมพ์บางแห่ง บังคับให้รับทั้ง print/online หรือติดเงื่อนไข embarco
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด ทางเลือกของห้องสมุด : ใช้ Open Journal Systems จัดเก็บวารสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์แทน เช่น OJS ของ มศว /THAIJO /Directory of Open Access Journal (DOAJ)
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด 4.2 ด้านสถานที่จัดเก็บ : คำถามที่เกี่ยวกับแนวโน้มการพัฒนาความร่วมมือ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80.95) เห็นว่า ควรมีความร่วมมือในรูปให้ห้องสมุดที่มี holdings สมบูรณ์เป็นผู้เก็บ มี ILL และมีบริการ DDS แต่เงื่อนไข ระเบียบการให้บริการต้องชัดเจน ละเอียดรอบคอบ เพื่อให้ห้องสมุดที่เป็นสมาชิกได้รับบทความฉบับเต็มตลอดไป
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80.95) เห็นว่า ควรทำคลังปัญญา (Institutional Respiratory) เพื่อเก็บเฉพาะสิ่งพิมพ์ วารสารของมหาวิทยาลัยของตน และไม่จัดเก็บวารสารรายการนั้นในรูปเล่ม
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด ทางเลือก ซื้อฐานข้อมูลวารสารภาษาต่างประเทศ เช่น JSTOR เพื่อแทนการเก็บตัวเล่ม เนื่องจากสามารถเลือกได้ตามสาขาวิชาและความต้องการของผู้ใช้
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด 4.3 ด้านการแปลงรูป ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 95.24) เห็นด้วยกับการแปลงรูปฉบับพิมพ์ให้อยู่ในรูปดิจิตอล และหากไม่มีปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ ไม่จำเป็นต้องเก็บตัวเล่ม
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด ควรมีตัวแทนเป็นคนกลางเจรจาขออนุญาตจากสำนักพิมพ์ที่เป็นหน่วยงานราชการและเอกชนที่ไม่หวังผลกำไร ให้ห้องสมุดสามารถแปลงรูปได้โดยไม่ผิดกฎหมาย (ร้อยละ 85.71) ตัวแทน : คณะทำงานฝ่ายวารสารและเอกสาร หรือสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) หรือที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.)
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด วารสารที่มีปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ ควรเก็บในรูปซีดีรอมและอนุญาตให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น หรือเป็น intranet ใช้เฉพาะในมหาวิทยาลัย (ร้อยละ 80.95)
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ปัจจัยที่จะทำให้ความร่วมมือเพื่อช่วยให้การจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาประสบผลสำเร็จ อันดับแรก : การที่ผู้บริหารห้องสมุดมองเห็นถึงความสำคัญของการสร้างความร่วมมือ รองลงมา : ความพร้อมของแต่ละห้องสมุด (ร้อยละ 95.24) การกำหนดเงื่อนไขหรือกลไกการให้บริการ (ร้อยละ 90.48) และงบประมาณในการลงทุน (ร้อยละ 85.71)
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ผลการนำงานวิจัยไปใช้ ได้นำเสนอในที่ประชุมความร่วมมือด้านประกันคุณภาพการศึกษาของห้องสมุด 5 สถาบัน และเริ่มดำเนินการในปี 2556
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ผลการนำงานวิจัยไปใช้ แนวทางคือ การพัฒนาความร่วมมือในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์แบบไม่ซ้ำซ้อนกัน มีบริการ ILL และ DDS
รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยรายงานผลการวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ขอบคุณค่ะ