120 likes | 466 Views
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ). วุฒิไกร บุญคุ้ม , มนต์ชัย ดวงจินดา , บัญญัติ เหล่าไพบูลย์ และเทวินทร์ วงษ์พระลับ ภาควิชา สัตว ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
E N D
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา, บัญญัติ เหล่าไพบูลย์และเทวินทร์ วงษ์พระลับ ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ความสำคัญและที่มางานวิจัยไก่ประดู่หางดำความสำคัญและที่มางานวิจัยไก่ประดู่หางดำ
ความสำคัญและที่มางานวิจัยไก่ประดู่หางดำความสำคัญและที่มางานวิจัยไก่ประดู่หางดำ • คุณสมบัติของไก่ประดู่หางดำ • รสชาติดี • ราคาเมื่อขายสูงกว่าไก่เนื้อ • คอเลสเตอรอลต่ำ • กรดยูริกต่ำ • ไตรกลีเซอไรด์ต่ำ อาชีพเสริมของเกษตรกร เชิงการค้าระดับอุตสาหกรรม
ความสำคัญและที่มางานวิจัยไก่ประดู่หางดำความสำคัญและที่มางานวิจัยไก่ประดู่หางดำ • การเจริญเติบโตช้า • ผลผลิตไข่ต่ำ การปรับปรุงพันธุกรรม
วัตถุประสงค์ เพื่อประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและวิเคราะห์แนวโน้มทางพันธุกรรมเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงพันธุ์ไก่พื้นเมืองประดู่หางดำของลักษณะสมรรถนะการเจริญเติบโตและปริมาณผลผลิตไข่
G G วิธีการศึกษา Growth trait = นน.ตัว เมื่ออายุ 16 สัปดาห์ Carcass trait = ความยาวรอบอก Egg trait = ผลผลิตไข่เมื่ออายุ 300 วัน G1-G4 4,283 บันทึก Genetic Parameter Estimation h2, rG SELECTION Multi-trait BLUP G1 SELECTION G2 Selection Index G3 I = 1EBV1 + 2EBV2 + 3EBV3
ผลการทดลอง Avg 88 g/head Avg 200 g/head Avg 1.5 egg/head Avg 66 g/head
ผลการทดลอง ตารางแสดงความแปรปรวนของลักษณะปรากฏ (phenotypic variance, Vp), ความแปรปรวนทางพันธุกรรม (genetic variance) ค่าอัตราพันธุกรรรม (h2), ความคลาดเคลื่อน (SE) ค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรม (rg) และค่าสหสัมพันธ์ของลักษณะปรากฏของลักษณะที่คัดเลือกในไก่ประดู่หางดำ rg rp
สรุป • การปรับปรุงพันธุกรรมไก่ประดู่หางดำใน • ลักษณะสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ • สามารถทำได้ • ลักษณะสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ • มีความสัมพันธ์ในเชิงพันธุกรรมต่ำหรือมีอิสระต่อ • กันดังนั้นในการคัดเลือกควรพิจารณาแยก