1 / 9

Networking

Networking. Devices. 4. องค์ประกอบเครือข่าย และประเภทอุปกรณ์ ประเภทเครือข่าย อุปกรณ์เลเยอร์ 1 อุปกรณ์เลเยอร์ 2 อุปกรณ์เลเยอร์ 3. 3-1. 3-2. แบ่งอุปกรณ์เป็น 2 ประเภท ตามบทบาทบนเครือข่าย

Download Presentation

Networking

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Networking Devices 4

  2. องค์ประกอบเครือข่าย และประเภทอุปกรณ์ • ประเภทเครือข่าย • อุปกรณ์เลเยอร์1 • อุปกรณ์เลเยอร์2 • อุปกรณ์เลเยอร์3 3-1

  3. 3-2

  4. แบ่งอุปกรณ์เป็น 2 ประเภท ตามบทบาทบนเครือข่าย • End Device: อุปกรณ์ที่อยู่ปลายทางของเครือข่าย สามารถสื่อสารระหว่างเครือข่ายได้ (L3 ขึ้นไป) เช่น เครื่องโฮส หรือเราท์เตอร์ • Intermediate:อุปกรณ์ที่ช่วยข้อมูลระหว่าง End Device ในเครือข่ายเดียวกัน มักเป็นอุปกรณ์ L2 (ควบคุมการสื่อสารระหว่าง End Device) เช่น สวิตช์ • รูปแบบการเชื่อมต่อโดยทั่วไปในเครือข่าย จึงเป็น End Device > Intermediate > End Device 3-3 Router Switch NIC บนเครื่องโฮส ขอบของ LAN (Broadcast Domain)

  5. นิยาม • LAN: เครือข่ายส่วนตัว • WAN: เครือข่ายสาธารณะ • ลักษณะสื่อ (L1) • LAN: ใกล้ และเร็ว • WAN: ไกล และช้า • โปรโตคอลถอดรหัสสัญญาณ (L2) • LAN: Ethernet • WAN: HDLC, PPP, Frame Relay LAN WAN เนื่องจาก L3 เป็นการสื่อสารระหว่างเครือข่าย จึงถือว่า LAN และ WAN ไม่มีความแตกต่างกันตั้งแต่ L3 ขึ้นไป 3-4 1 วง LAN = 1 Broadcast Domain

  6. เกี่ยวข้องกับสัญญาณบนสื่อเท่านั้น ไม่ได้ถอดรหัสสัญญาณขึ้นมาอ่าน • ได้แก่อุปกรณ์ขยายสัญญาณ เช่น Repeater และ Hub • เนื่องจากตามมาตรฐานอีเธอร์เน็ต ใช้สื่อร่วมกันกับทุกอุปกรณ์ในเครือข่าย (Mutiple Access) การใช้อุปกรณ์เหล่านี้จึงทำให้โอกาสสัญญาณชนกัน (Collision) มากขึ้น • ปัจจุบันจึงนิยมใช้ Bridge/Switch แทน เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ L2 ที่ถอดรหัสสัญญาณขึ้นมาอ่านก่อน จึงสามารถแบ่งส่วนของเครือข่ายที่มีโอกาสสัญญาณชนกันได้บนแต่ละอินเตอร์เฟส (Collision Domain) 3-5

  7. Des MAC xx Pls send via fa0/10 Des MAC xx Which Int? Fa 0/10 CAM ASIC • อุปกรณ์ที่ควบคุมการสื่อสาร “อุปกรณ์ ต่อ อุปกรณ์” (ระหว่าง End Device) • ถอดรหัสสัญญาณขึ้นมาอ่านเฟรมข้อมูล เพื่อดูที่อยู่กายภาพปลายทางเทียบกับฐานข้อมูลของตนเอง แล้วจึงเลือกส่งเฟรมออกเฉพาะอินเตอร์เฟสที่ถูกต้อง • ได้แก่ สวิตช์ (LAN Switch, Frame Relay Switch, ATM Switch, etc.) 3-6

  8. ควบคุมการสื่อสาร “ระหว่างเครือข่าย” (ซับเน็ต/VLAN/LAN/WAN) • ถอดรหัส L3 Header ขึ้นมาอ่านที่อยู่ลอจิคัล (IP Address) ปลายทาง เทียบกับฐานข้อมูลเส้นทางที่อยู่ในอุปกรณ์ เพื่อเลือก “เครือข่าย” ที่จะส่งแพ๊กเก็ตข้อมูลออกไป • หน้าที่ของเราท์เตอร์ กับการรับส่งแพ๊กเก็ต จึงแบ่งเป็น 2 ส่วน • 1. เลือกเส้นทางที่ดีที่สุดที่จะไปยังเครือข่ายปลายทาง (Path Selection; L3) • 2. ดูข้อมูล ARP บนอินเตอร์เฟสที่เลือกไว้ในข้อ 1 เพื่อนำ MAC มาเขียน Frame Header ใหม่ก่อนฟอร์เวิร์ดเฟรมออกไป (Switching; L2) • ได้แก่ เราท์เตอร์ และสวิตช์ที่ทำงาน L3 3-7

  9. Collision Domain • คือ “ส่วน” ของเครือข่าย ที่สัญญาณข้อมูล (L1) มีโอกาสชนกันได้ • ถูกแบ่งได้จากอินเตอร์เฟสของอุปกรณ์ L2 ขึ้นไป • Broadcast Domain • คือ “เครือข่าย” ที่เฟรมข้อมูลแบบ Broadcast ส่งกระจายไปทั่วถึง • ถูกแบ่งได้จากอินเตอร์เฟสของอุปกรณ์ L3 ขึ้นไป หรือจากฟีเจอร์บนอุปกรณ์ L2 เอง (เช่น สวิตช์แบ่ง VLAN) Broadcast Domain = LAN = VLAN = Subnet = Network ตรงที่การจำกัดบริเวณด้วย Network ID เดียวกัน 3-8

More Related