180 likes | 407 Views
EC 451 Lecture 4. Comparative advantage and the gains from trade (cont.) ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ. ความแตกต่าง. Comparative advantage ความสามารถของประเทศในการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งด้วย ต้นทุนค่าเสียโอกาส ที่ต่ำกว่าประเทศอื่น Absolute advantage
E N D
EC 451 Lecture 4 Comparative advantage and the gains from trade (cont.) ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
ความแตกต่าง • Comparative advantage • ความสามารถของประเทศในการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งด้วยต้นทุนค่าเสียโอกาสที่ต่ำกว่าประเทศอื่น • Absolute advantage • ความสามารถของประเทศในการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งด้วยจำนวนปัจจัยการผลิตต่อหน่วยที่ต่ำกว่าประเทศอื่น
Comparative Advantage Theory • หากแต่ละประเทศมีค่าเสียโอกาสในการผลิตสินค้าต่างกัน ประเทศเหล่านั้นมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในสินค้าที่ตนมีค่าเสียโอกาสต่ำกว่าประเทศอื่น • หากแต่ละประเทศผลิตเฉพาะสินค้าที่ตนมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ แล้วเอาไปแลกกับสินค้าที่ตนไม่มีความได้เปรียบฯ จะเกิดประโยชน์จากการค้า (มีสินค้าออกมาให้บริโภคมากกว่ากรณีผลิตเองใช้เองภายในประเทศ) • แม้ประเทศที่ต้นทุนสูงกว่าประเทศอื่นในทุกสินค้าก็ยังสามารถทำการส่งออกสินค้าอย่างใดอย่างหนึ่งได้
The ideas of comparative advantage in a one-factor model. “Ricardian Model”
Assumptions • One factor: “labour” • Full employment • Two goods • Two countries • Technology differences • แต่ละประเทศใช้จำนวนแรงงานไม่เท่ากันในการผลิตสินค้าแต่ละชนิดไม่เท่ากัน • Perfect competition (P = MC)
example • 2 countries: US and UK • 2 สินค้า : wheat กับ Cloth ผลิตโดยใช้แรงงานเป็นปัจจัยการผลิตเพียงอย่างเดียว • Labor productivity ของสองประเทศแตกต่างกัน (เทคโนโลยีต่างกัน) • ผลผลิตต่อหน่วยแรงงาน (output per unit of labor) ของ 2 ประเทศไม่เท่ากัน • 2 ประเทศต้องการแรงงานต่อหน่วยผลผลิต (unit labor requirement) ไม่เท่ากัน
Output per unit of Labor (labor productivity) Unit Labor Requirement Wheat (man-hr/bushels) aLW = 1/6 1 Cloth (man-hr/yards) aLC = 1/4 1/2 Opportunity Costs Wheat (yards/bushels) 4/6 2/1 Cloth (bushels/yards) 6/4 1/2
OC of wheat in US = 2/3 yards of cloth • OC of wheat in UK = 2 yards of cloth • ถ้า world price of wheat อยู่ระหว่าง: 2/3 <p< 2 • เกิด Trade ระหว่าง US และ UK
(aLW/aLC)UK (aLC/aLW)UK (aLW/aLC)US (aLC/aLW)US 30x6 180+(60)1 60x2 120+(30)4 FIGURE 2-3 Equilibrium-Relative Commodity Prices with Demand and Supply.
Gains from Trade เกิดขึ้นเมือ trade ทำให้สามารถ ใช้ทรัพยากรเท่าเดิม แต่บริโภคได้มากขึ้น (ความพอใจสูงขึ้น) กว่าเมื่อไม่ทำการค้า
2 countries: US and UK • เทคโนโลยีในสองประเทศต่างกัน ดังแสดงในตัวอย่างข้างต้น สมมติ จำนวนแรงงานที่มีใน US = 30 man-hour จำนวนแรงงานที่มีใน UK= 60 man-hour
Closed Economy PPF L/aLC Slope = 2/3= aLW / aLC Slope = 2 L/aLW
Allowing trade Slope = 2/3 Slope = 1 Slope = 1 Slope = 2
the countries are “better off”. UK PPF & CPF US PPF & CPF QUSC QUKC 120 120 QUKW 60 QUSW 180
สรุป ทำไมถึง 2 ประเทศจึง trade ซึ่งกันและกัน • แต่ละประเทศมี comparative advantage ในสินค้าคนละชนิด • ทั้งสองประเทศที่ทำการค้าต่อกันมี welfare สูงขึ้นเมื่อ specialization ในสินค้าที่ตนมี comparative • ตราบใดที่ราคาสินค้าในตลาดโลกต่างจากราคาที่ autarky, ประเทศที่ทำการค้ามี welfare สูงขึ้นเมื่อ trade. • specialization และ trade เกิดขึ้นเองตามกลไกตลาด
Basic implications of the Ricardian Model • ความแตกต่างใน Productivity ทำให้เกิดการค้าความแตกต่างใน OC • ความแตกต่างใน OC ทำให้เกิด trade หาก Terms of Trade เอื้ออำนวย • แต่ละประเทศส่งออกสินค้าที่ตนมี OC ต่ำกว่าอีกประเทศ
การทดสอบเชิงประจักษ์ Relative Labor Productivities and Comparative Advantage–United States and United Kingdom.
สิ่งที่ Ricardian model ตอบไม่ได้ • ทำไมประเทศหนึ่งจึงทั้งส่งออกและนำเข้าสินค้าประเภทเดียวกัน • ไทยทั้งส่งออกและนำเข้าอาหาร • ทำไมในแต่ละประเทศจะมีคนบางกลุ่มที่ต่อต้านการเปิดเสรีทางการค้า • ไม่สามารถแจกแจงผลกระทบจากการค้าที่มีต่อประชาชนแต่ละกลุ่ม • ทำไมแต่ละประเทศมี labour productivities แตกต่างกัน • ไม่สามารถบอกได้ว่าทำไมแรงงานจีนมีผลผลิตต่อหน่วยต่ำกว่าแรงงานอเมริกัน