1 / 18

อบรมปฐมนิเทศ “หลักสูตรการเป็นข้าราชการทีà¹

อบรมปฐมนิเทศ “หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี”. เขตบริการสุขภาพที่ ๒ นพ . ไกรสุข เพชระ บูรณิน รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด (ด้านเวชกรรมป้องกัน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์. การปฐมนิเทศก่อนบรรจุแต่งตั้งเป็นข้าราชการ (การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ พ . ศ . ๒๕๕๓). พัฒนา ๓ ประเด็นหลัก

azia
Download Presentation

อบรมปฐมนิเทศ “หลักสูตรการเป็นข้าราชการทีà¹

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อบรมปฐมนิเทศ“หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี”อบรมปฐมนิเทศ“หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี” เขตบริการสุขภาพที่ ๒ นพ.ไกรสุข เพชระบูรณิน รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด (ด้านเวชกรรมป้องกัน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์

  2. การปฐมนิเทศก่อนบรรจุแต่งตั้งเป็นข้าราชการการปฐมนิเทศก่อนบรรจุแต่งตั้งเป็นข้าราชการ (การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๓) พัฒนา ๓ ประเด็นหลัก ๑.ปฐมนิเทศโดยหน่วยงาน (ประเมินตนเอง ) ๒.ศึกษาบทเรียนด้วยตนเอง ( ๔ หมวด ๑๓ ชุด ) ๓.อบรมโดยหน่วยงานที่รับผิดชอบ ( ๒ สัปดาห์ ) เงื่อนไข กฎ กพ. ๑.ระยะเวลา ระหว่าง ๖-๑๒ เดือน ๒.เริ่ม ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓ เป็นต้น

  3. ขั้นตอนการดำเนินงานการปฐมนิเทศข้าราชการใหม่ขั้นตอนการดำเนินงานการปฐมนิเทศข้าราชการใหม่ ขั้นที่ ๖ ต้นสังกัดตรวจสอบ + บรรจุแต่งตั้งการเป็นข้าราชการ ขั้นที่ ๕ ประเมินผลการเข้ารับการปฐมนิเทศ . “การเป็นข้าราชการที่ดี ” + ผู้จัดการปฐมนิเทศรายงานต้นสังกัด ขั้นที่ ๔ ปฐมนิเทศ “การเป็นข้าราชการที่ดี” ( ๒ สัปดาห์ ) ขั้นที่ ๓ ผู้ทดลองปฏิบัติงานราชการ ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจาก . บทเรียนที่ สนง.ก.พ.กำหนดในระบบ INTERNET ขั้นที่ ๒ หน่วยงานต้นสังกัด ปฐมนิเทศแนะนำหน่วยงานบทบาทหน้าที่ ข้อปฏิบัติสำหรับข้าราชการ ฯ ขั้นที่ ๑ หน่วยงานต้นสังกัดมีคำสั่งให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่

  4. การเตรียมความพร้อมอบรมปฐมนิเทศ เขตบริการสุขภาพที่ ๒ ๑. ระยะเวลาการอบรม / สถานที่การอบรม / กลุ่มเป้าหมาย - บุคลากรที่ได้รับการบรรจุใหม่ รอบจัดสรรตำแหน่งว่าง ๑๑๐ คน วันที่ ๑๖ – ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ณ อิมพีเรียลภูแก้วรีสอร์ท อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ - บุคลากรที่จบใหม่ ๓ สายงาน ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการในปี ๒๕๕๗ วันที่ ๑๘–๒๗ เมษายน ๒๕๕๗ ณ ณ อิมพีเรียลภูแก้วรีสอร์ท อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

  5. การเตรียมความพร้อมอบรมปฐมนิเทศ เขตบริการสุขภาพที่ ๒ ๒. วิทยากร - วิทยากรให้แต่ละจังหวัดรวบรวมรายชื่อผู้บริหาร - ผู้ตรวจการกระทรวงสาธารณสุข เขตบริการสุขภาพที่ ๒ เป็น ประธานพิธีเปิดพร้อมบรรยาย จำนวน ๓ ชั่วโมง - กรมสุขภาพจิตบรรยาย จำนวน ๖ ชั่วโมง ในวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๗ ตามที่ประสานงานไว้

  6. การเตรียมความพร้อมอบรมปฐมนิเทศ เขตบริการสุขภาพที่ ๒ ๓. คณะทำงาน / พี่เลี้ยง / สิ่งสนับสนุน - คณะทำงานสนับสนุนกลุ่มงานบริหารทรัพยากรด้านการบริหาร กำลังคน เขตบริการสุขภาพที่ ๒ - จัดรถตู้ของหน่วยบริการประจำการอบรม จังหวัด ๑ คัน และ บริการรับส่งกลุ่มเป้าหมายศึกษาดูงาน จังหวัด ๒ คัน - พี่เลี้ยงอยู่ประจำสถานที่การอบรมวันละ ๒ คน/หน่วยงาน จำนวน ๑๐ วัน

  7. การเตรียมความพร้อมอบรมปฐมนิเทศ เขตบริการสุขภาพที่ ๒ ๔. งบประมาณ - ใช้งบประมาณรายหัวของกลุ่มเป้าหมายจากหน่วยบริการต้น สังกัด และพี่เลี้ยงการอบรมใช้จ่ายจากต้นสังกัด ค่าวิทยากร ค่าบริหารจัดการและค่าวัสดุขอรับการสนับสนุนจาก เขตบริการสุขภาพที่ ๒ จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท

  8. ความต้องการวิสัญญีพยาบาลของโรงพยาบาล ปี 2557 เขตบริการสุขภาพที่ 2

  9. แนวทางการพิจารณาการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรด้านวิสัญญีพยาบาล ปี 2556-2559(แผน 4ปี)ของเครือข่ายบริการสุขภาพ • หลักเกณฑ์การพิจารณาในการกำหนดอัตรากำลังวิสัญญีพยาบาล ของสภาการพยาบาล พยาบาลวิสัญญี : ผู้ป่วยต่อวัน/เวร = 2 : 1 ( ทีมพยาบาลวิสัญญี = 2.5 FTEs ต่อ 1รายโดยกำหนดให้มี การผ่าตัดอย่างน้อย 2 รายใน 7 ชั่วโมงทำงาน) • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(เกณฑ์ขึ้นทะเบียน “หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ” พยาบาลวิสัญญี : ห้องผ่าตัดขณะปฏิบัติงาน = 2 : 1

  10. แนวทางการพิจารณาการจัดสรรวิสัญญีพยาบาล เขตบริการสุขภาพที่ 2 • ๑. ขนาดของโรงพยาบาล • ๒. จำนวนวิสัญญีพยาบาลที่ปฏิบัติงานจริง • ๓. จำนวนวิสัญญีพยาบาลที่ไม่ได้ปฏิบัติงาน(ทำหน้าที่อื่น) • ๔. จำนวนวิสัญญีพยาบาลที่มีอายุ ๕๐-๕๔ ปี (เพื่อวางแผนทดแทน) • ๕. จำนวนวิสัญญีพยาบาลที่มีอายุมากกว่า ๕๕ ปี (เพื่อวางแผนทดแทน) • ๖. จำนวนห้องผ่าตัดที่เปิดใช้งานจริง • ๗. จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการด้านวิสัญญีวิทยา • ๘. จำนวนแพทย์ผ่าตัด • ๙. จำนวนวิสัญญีแพทย์ • ๑๐.แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)

  11. การจัดสรรวิสัญญีพยาบาลของโรงพยาบาล ปี 2557 เขตบริการสุขภาพที่ 2

  12. การปฐมนิเทศและเลือกสถานที่ปฎิบัติงานสำหรับแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร • วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๗ – ๒ เมษายน ๒๕๕๗ ณ ศูนย์ไบเทค บางนา • ร่วมจัดนิทรรศการและประชาสัมพันธ์ข้อมูลร่วมกัน ดังนี้ จังหวัดสุโขทัย เตรียมป้ายประชาสัมพันธ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ เตรียมวีดีทัศน์ประชาสัมพันธ์ จังหวัดตาก เตรียมเอกสารข้อมูลประชาสัมพันธ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ เตรียมเครื่องเสียง โปรเจคเตอร์ จังหวัดพิษณุโลก เตรียมวัสดุอุปกรณ์การจัดบูธนิทรรศการ

  13. แพทย์ฝึกเพิ่มพูนทักษะปี ๑ ปี ๒๕๕๗ • จัดให้แพทย์เพิ่มพูนทักษะอยู่ปฏิบัติงานเพิ่มพูนทักษะ -โรงพยาบาลศูนย์ /โรงพยาบาลทั่วไป /โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ที่แพทยสภารับรองจำนวน ๑๐ เดือน - แพทย์เพิ่มพูนทักษะอยู่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน ๒ เดือน - จากเดิม รพท. รพศ. ๙ เดือน /รพช. ๓ เดือน

  14. การตัดโอนย้ายตำแหน่งตามบัญชีถือจ่ายเงินเดือน(จ .๑๘) ภายในเขตบริการสุขภาพที่ ๒ - บุคลากรผู้ช่วยปฏิบัติงานราชการต่างจังหวัดในเขตบริการสุขภาพที่ ๒ โดยเฉพาะตำแหน่งในสายงานวิชาชีพ ๒๔ สายงาน ที่มีการจัดสรรตำแหน่งเพื่อการบรรจุเข้ารับราชการใหม่

  15. การบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเป็นข้าราชการ รอบตำแหน่งว่าง

  16. จำนวนและร้อยละของการกระจายอัตรากำลังที่ได้รับจัดสรร จำแนกรายจังหวัด รอบที่ 2 เพิ่มเติม

  17. การเตรียมอบรมเรื่อง Competency • การพัฒนาสมรรถนะเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเขตบริการสุขภาพที่ ๒ • งบประมาณ จำนวน 286,800 บาท • จำนวน ๒ วัน • สถานที่ในจังหวัดทางภาคตะวันออก • ระยะเวลาดำเนินการต้นเดือนมิถุนายน ๒๕๕๗ • ผู้รับผิดชอบคณะทำงาน CHRO เขตบริการสุขภาพที่ 2

  18. สวัสดี

More Related