1 / 103

การดูแลระบบบำบัดน้ำเสียโรงพยาบาล

การดูแลระบบบำบัดน้ำเสียโรงพยาบาล. ดร. สมพงษ์ หิรัญมาศสุวรรณ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยรังสิต. ขั้นตอนการพัฒนาโครงการระบบบำบัดน้ำเสีย. การสำรวจและออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย. ข้อมูลสำหรับการออกแบบ. - ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ย Q ave = Q d /24 - อัตราไหลสูงสุด Q peak = Q ave x 3

axelle
Download Presentation

การดูแลระบบบำบัดน้ำเสียโรงพยาบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดูแลระบบบำบัดน้ำเสียโรงพยาบาลการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียโรงพยาบาล ดร. สมพงษ์ หิรัญมาศสุวรรณ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยรังสิต

  2. ขั้นตอนการพัฒนาโครงการระบบบำบัดน้ำเสียขั้นตอนการพัฒนาโครงการระบบบำบัดน้ำเสีย

  3. การสำรวจและออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียการสำรวจและออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย

  4. ข้อมูลสำหรับการออกแบบข้อมูลสำหรับการออกแบบ - ปริมาณน้ำเสียเฉลี่ย Qave= Qd/24 -อัตราไหลสูงสุดQpeak = Qave x 3 - คุณลักษณะของน้ำเสีย = น้ำเสียชุมชนจากอาคาร

  5. คุณลักษณะของน้ำเสียชุมชนคุณลักษณะของน้ำเสียชุมชน

  6. คุณลักษณะของน้ำเสียชุมชนจากแหล่งต่างๆคุณลักษณะของน้ำเสียชุมชนจากแหล่งต่างๆ

  7. คุณลักษณะของน้ำเสียโรงพยาบาลคุณลักษณะของน้ำเสียโรงพยาบาล คุณลักษณะน้ำเสีย : ส่วนใหญ่คล้ายกับน้ำเสียชุมชนแต่เจือจางกว่า SS : <100 มก./ล. BOD : < 50 - 100 มก./ล. TKN : <50 มก./ล. ไขมัน : 0 – 100 มก./ล. สิ่งปนเปื้อนอื่นๆ : เชื้อโรค : แบคทีเรีย ไวรัส ไข่พยาธิ โปรโตซัว สารฆ่าเชื้อโรค สารซักฟอก ยาชา ฮอร์โมน ยาปฏิชีวนะ สารทำให้เซลหยุดเติบโต อื่นๆ สารกัมตรังสี : Radium 226, Iodine 131 อื่นๆ

  8. มาตรฐานน้ำทิ้งชุมชน อาคารประเภท ก. ของแข็งละลายน้ำ(TDS) : ไม่เพิ่มขึ้นเกิน 500 มก./ล. ตะกอนหนัก : <0.5 มล./ล. ของแข็งแขวนลอย (SS) : <30 มก./ล. BOD : < 20 มก./ล. TKN : <35 มก./ล. น้ำมันและไขมัน :<20 มก./ล. ซัลไฟท์: <1.0 มก./ล. ความเป็นกรดด่าง (pH) : 5 - 9

  9. ของแข็งตกตะกอนได้ ( Settleable Solid) น้ำเสีย 1 L. ตั้งทิ้งไว้ 1 ชั่วโมง ใช้ในการพิจารณาความต้องการใช้และออกแบบ ถังตกตะกอนขั้นที่ 1

  10. B-A X 106 = SS (มก./ล.) ปริมาณน้ำเสีย (มล.) ของแข็งแขวนลอย ของแข็งในน้ำ = ของแข็งแขวนลอย (SS) + ของแข็งละลายน้ำ (TDS) อบแห้งที่ 104OC ชั่งน้ำหนัก (B) กรัม กรองน้ำเสีย อบแห้งที่ 104OC ชั่งน้ำหนัก (A) กรัม

  11. ชุดวิเคราะห์หาของแข็งแขวนลอยชุดวิเคราะห์หาของแข็งแขวนลอย

  12. ของแข็งแขวนลอยระเหย (VSS) ของแข็งแขวนลอย (SS) = ของแข็งระเหย (VSS) + ของแข็งอยู่ที่ (FSS) (สารอินทรีย์) (สารอนินทรีย์) อบแห้งที่ 104OC ชั่งน้ำหนัก (C) กรัม อบแห้งที่ 104OC ชั่งน้ำหนัก (B) กรัม เผาที่ 550 OC B-C X 106 = VSS (มก./ล.) ปริมาณน้ำเสีย (มล.)

  13. ถ้วยกระเบื้อง น้ำเสีย (ml) อบแห้งที่ 104OC ชั่งน้ำหนัก (A) กรัม อบแห้งที่ 104OC ชั่งน้ำหนัก (B) กรัม ตั้งบนน้ำ เดือดจนแห้ง (B-A) X106 = TDS (มก./ล.) ปริมาณน้ำมล. ของแข็งละลายน้ำ

  14. ของแข็งในน้ำเสีย ของแข็งแขวนลอย (VSS) สารอินทรีย์ (Organic) ของแข็งละลาย(Dissolved Solid) = ของแข็งทั้งหมด (Total Solid) ของแข็งแขวนลอย (FSS) สารอนินทรีย์ (Inorganic) ของแข็งละลาย(Dissolved Solid)

  15. ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solid) ย่อยสลายได้โดยจุลินทรีย์ (Biodegradable) ของแข็งละลาย(Dissolved Solid) = สารอินทรีย์ (Organic) ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solid) ย่อยสลายไม่ได้โดยจุลินทรีย์ (Nonbiodegradable) ของแข็งละลาย(Dissolved Solid) สารอินทรีย์ในน้ำเสีย

  16. ในสภาพที่น้ำมีออกซิเจนในสภาพที่น้ำมีออกซิเจน สารอินทรีย์ + ออกซิเจน (O2) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) + น้ำ จุลินทรีย์ ในสภาพที่น้ำไม่มีออกซิเจน สารอินทรีย์กรดอินทรีย์, แอลกอฮอล์, ก๊าซมีเทน (CH4), คาร์บอนไดออกไซด์, ก๊าซไข่เน่า (H2S) จุลินทรีย์ สารอินทรีย์ในน้ำ=สารอินทรีย์ละลายน้ำ + สารแขวนลอย = สารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ โดยจุลินทรีย์ + สารอินทรีย์ที่ย่อยสลายไม่ได้โดยจุลินทรีย์ = แป้ง, ไขมัน, โปรตีน, แอลกอฮอล์, กรดอินทรีย์ เป็นต้น

  17. ความเข้มข้นของออกซิเจนละลายน้ำสูงสุดที่อุณหภูมิต่าง

  18. BOD การหาปริมาณสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ด้วยจุลินทรีย์ BOD=Biochemical Oxygen Demand =ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ไปในการย่อยสลาย สารอินทรีย์ในน้ำ

  19. ออกซิเจนละลายน้ำอิ่มตัว 8 - 9 มก/ล เครื่องเป่าอากาศ น้ำเสีย น้ำเสีย น้ำเจือจาง น้ำเจือจาง ขวดวิเคราะห์ BOD น้ำเจือจางสำหรับวิเคราะห์ BOD เก็บไว้ที่ 20 องศา 5 วัน หาปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ(DO) ที่ 0 วัน ที่ 5 วัน ค่า BOD5 = ( DO0 - DO5) ปริมาณน้ำเสีย

  20. น้ำเสีย บีโอดี 200 มก./ล. แหล่งน้ำธรรมชาติ - น้ำเสีย 1 ลิตร = ต้องการออกซิเจน 200 มก. - น้ำธรรมชาติมีออกซิเจนละลายอยู่ประมาณ 4 มก./ล. - จะใช้ออกซิเจนจากน้ำทั้งหมด 50 ลิตร(จนออกซิเจนหมด) - ถ้ามีน้ำเสีย 100 ลบ.ม. ต้องการน้ำ ? Q1C1 = Q2C2 (100 ลบ.ม.)(200 มก./ล.) = Q2(4 มก./ล.) Q2 = 5000 ลบ.ม.

  21. BOD ค่า BOD ที่เกิดจากไนโตรเจน ค่า BOD ที่เกิดจากสารอินทรีย์ เวลา(วัน) BOD5 = 0.7 BODU กราฟแสดงค่า BOD ที่เพิ่มขึ้นตามเวลา

  22. โปรตีน กรดอะมิโน แอมโมเนีย (NH4+) แอมโมเนีย (NH4+) + ออกซิเจน (O2) จุลินทรีย์ ไนไตรต์ (NO2-) ไนไตรต์ (NO2-) + ออกซิเจน (O2) จุลินทรีย์ ไนเตรต (NO3-) (NH3-N 1 มก. ต้องการ O2 4.57 มก.) ปฏิกิริยาจะเกิดหลังจากเก็บในตู้ 10 วัน สารประกอบไนโตรเจน

  23. COD สารเคมี สารอินทรีย์ CO2 + H2O (เกือบทุกชนิด) COD สารอินทรีย์ที่ย่อยสลายไม่ได้ และ สารอนินทรีย์บางชนิด เช่น ไนไตร, ซัลไฟด์ BOD สารเคมีที่ไช้ K2Cr2O7 + กรด ใช้เวลา 3 ชม. COD : BOD ~ค่อนข้างคงที่สำหรับน้ำเสียชนิดหนึ่งๆ COD =Chemical Oxygen Demand = ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำทางเคมี

  24. สารอาหารที่จำเป็น (Nutrients) * แร่ธาตุที่จุลินทรีย์ต้องการในปริมาณมาก คือ คาร์บอน, ไนโตรเจน และ ฟอสฟอรัส * อัตราส่วนที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต BOD : N : P = 100 : 5 : 1 ไนโตรเจน มาตรฐานน้ำทิ้ง : ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (TKN) = 100 - 200 มก./ล. ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด = แอมโมเนีย (NH3 + NH4+) + สารอินทรีย์ ไนโตรเจน + ไนเตรท ? แอมโมเนียเป็นพิษต่อปลา :แอมโมเนียอิสระ (NH3) > 0.2 มก./ล. ปลาตาย ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสจะกระตุ้นการเจริญเติบโต ของพืชน้ำและสาหร่ายอย่างรวดเร็ว

  25. จุลินทรีย์ในน้ำเสีย แบคทีเรีย - จุลินทรีย์เซลเดียว ขนาดเล็ก รูปร่างกลม แท่ง เกลียว ขดเป็นวง - ต้องการสารอาหาร อุณหภูมิ ค่า pHDO เจริญเติบโตแบบแบ่งเซล

  26. - แบ่งประเภทตามความต้องการออกซิเจนได้ 3 ประเภท 1) แอโรบิกแบคทีเรีย ใช้ออกซิเจนอิสระในการเจริญเติบโต 2) แอนแอโรบิกแบคทีเรีย ไม่ใช้ออกซิเจนอิสระ (เป็นพิษ) 3) แฟคัลเททีฟแบคทีเรีย เจริญเติบโตได้ในสภาวะที่มี/ไม่มีออกซิเจน

  27. สาหร่าย - เป็นจุลิทรีย์เซลเดียว มีขนาดใหญ่กว่าแบคทีเรีย - มีคลอโรฟิลล์และรงควัตถุที่อาจใช้จำแนกชนิดได้ - สังเคราะห์แสง ผลิตออกซิเจน ใช้ในระบบบ่อปรับเสถียร

  28. โปรโตซัว - เป็นจุลิทรีย์เซลเดียว มีขนาดใหญ่กว่าแบคทีเรีย - กินแบคทีเรียเป็นอาหารทั้งที่มีชีวิต และตายแล้ว

  29. สารเคมีอื่น ๆ ในน้ำเสียจากโรงพยาบาล - ในยุโรปยาปฏิชีวนะถูกใช้ในโรงพยาบาลสูงถึงร้อยละ 26 - ยาปฏิชีวนะจะถูกขับออกจากร่างกายลงสู่ระบบบำบัดน้ำเสีย - พบแบคทีเรียที่ทนทานต่อยาปฏิชีวนะในน้ำเสียจากโรงพยาบาลสูงเป็น 2 – 10 เท่าของในน้ำเสียชุมชน - ในประเทศอังกฤษพบว่าปลาเพศผู้ในแหล่งน้ำที่รองรับน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางอยู่ในสภาวะขาดแคลน คาดว่าเกิดจากฮอร์โมนเอสโตรเจน

  30. วัตถุประสงค์ของการบำบัดน้ำเสียวัตถุประสงค์ของการบำบัดน้ำเสีย 1. กำจัดของแข็งแขวนลอยและสิ่งสกปรกที่ลอยน้ำ 2. กำจัดสารอินทรีย์ที่จุลินทรีย์ (แบคทีเรีย)ย่อยสลายได้ 3. กำจัดสารพิษและสารที่ไม่ต้องการที่มีอยู่ในน้ำเสีย 4. กำจัดเชื้อโรค

  31. ระบบบำบัดน้ำเสียแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน 1. ระบบบำบัดน้ำเสียขั้นต้น - ใช้กำจัดของแข็งที่ปนมากับน้ำ เช่น ขยะ, กรวด, ทราย - ใช้กำจัดน้ำมันและไขมัน 2. ระบบบำบัดน้ำเสียขั้นที่ 2 - ใช้กำจัดสารอินทรีย์ที่อยู่ในรูปสารละลายและสารแขวนลอย ให้เป็นของแข็งที่ไม่ละลายน้ำ (มวลจุลินทรีย์) 3. ระบบบำบัดน้ำเสียขั้นที่ 3 - ระบบบำบัดน้ำเสียขั้นที่ 2 พอเพียงที่จะทำให้น้ำทิ้งผ่านมาตรฐาน - ใช้ในกรณีต้องการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ - การฆ่าเชื้อโรคและการกำจัดสารพิษ

  32. วิธีการกำจัดมลสารในน้ำเสียจากโรงพยาบาลวิธีการกำจัดมลสารในน้ำเสียจากโรงพยาบาล

  33. ถังดักไขมัน บ่อพัก/บ่อปรับสภาพ ตะแกรง น้ำสีย ระบบบำบัดน้ำเสียขั้นต้น

  34. ข้อมูลสำหรับการออกแบบข้อมูลสำหรับการออกแบบ ตัวแปรที่ใช้สำหรับออกแบบระบบขั้นต้น

  35. ตะแกรงหยาบและตะแกรงละเอียดตะแกรงหยาบและตะแกรงละเอียด - ใช้ดักเศษขยะ ไม้ พลาสติก ฯลฯ - ตะแกรงหยาบ : แบบอยู่กับที่ ระยะช่องว่าง 20 – 50 มม. แบบทำความสะอาดด้วยเครื่องกล ระยะช่องว่าง 15 – 75 มม. - ตะแกรงละเอียด : แบบเอียงอยู่กับที่ ระยะช่องว่าง 0.1 – 1.5 มม. แบบหมุน ระยะช่องว่าง 0.1 – 1.0 มม.

  36. ตะแกรงหยาบดักขยะ

  37. ตะแกรงละเอียด

  38. - ไขมันและน้ำมันมีความถ่วงจำเพาะน้อยกว่าน้ำ ลอยขึ้น - น้ำมันที่ไม่ละลายน้ำสามารถกำจัดได้โดย - ใช้ถังดักไขมันหรือวิธีทำให้ลอย ฝาปิด ท่อระบายอากาศ น้ำเสีย น้ำทิ้ง น้ำมัน ถังดักไขมัน

  39. บ่อดักไขมัน

  40. ใบกวาด น้ำมัน น้ำเสีย ลอย น้ำทิ้ง ถังความดัน สลัดจ์ วาวล์ปรับความดัน น้ำส่วนใสย้อนกลับ อากาศจากเครื่องอัดอากาศ เครื่องสูบน้ำ วิธีทำให้ลอยด้วยอากาศละลาย (Dissolved Air Flotation) - ใช้แยกของแข็งแขวนลอย สลัดจ์ และน้ำมันออกจากน้ำ - ทำให้เกิดฟองอากาศขนาดเล็กในน้ำ พาอนุภาคต่าง ๆ ลอยขึ้น แล้วกวาดออก

  41. น้ำใสย้อนกลับ อากาศจากเครื่องอัดอากาศ ใบกวาด ถังน้ำใส น้ำเสีย ถังความดัน วาวล์ปรับความดัน สลัดจ์ออก เครื่องสูบน้ำ รูปตัดของถังลอยแบบกลม

  42. ถังลอยแบบกลมกำจัดของแข็งแขวนลอยถังลอยแบบกลมกำจัดของแข็งแขวนลอย

  43. ระบบกำจัดไขมันด้วยไฟฟ้ากระแสตรงระบบกำจัดไขมันด้วยไฟฟ้ากระแสตรง

  44. 4) ถังปรับเสมอ (Equalization Tank) - ทำหน้าที่ปรับอัตราการไหลและความเข้มข้นของน้ำเสียให้สม่ำเสมอ - ป้องกันการเกิด Shock Load สำหรับระบบบำบัดน้ำเสียแบบชีวภาพ - ใช้ควบคุมค่า pH - ควบคุมอัตราการไหลให้คงที่ - ปรับความเข้มข้นของน้ำเสียให้สม่ำเสมอ - ป้องกันสารพิษที่มีความเข้มข้นสูง ด้วยการเจือจาง

  45. อัตราการไหล ของแข็งแขวนลอย อัตราการไหล ลบ.ม./วินาที บีโอดีและของแข็งแขวนลอย มก./ล. บีโอดี เวลาในหนึ่งวัน อัตราการไหลและค่าบีโอดีของน้ำเสียที่เข้าระบบในช่วงเวลาหนึ่งวัน

  46. ถังปรับเสมอ

  47. 5) ระบบสูบน้ำ - หน้าที่ - ยกระดับน้ำเสียให้มีความสูงเพียงพอที่จะไหลเข้าสู่ระบบบำบัด - ควบคุมอัตราการไหลของน้ำเสียให้เหมาะสมกับความสามารถในการบำบัดของระบบ - องค์ประกอบของระบบสูบน้ำเสีย - บ่อสูบน้ำเสีย - เครื่องสูบน้ำ - ระบบท่อและวาวล์ - ระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์ควบคุม

  48. ข้อมูลสำหรับการออกแบบข้อมูลสำหรับการออกแบบ ตัวแปรที่ใช้สำหรับออกแบบระบบขั้นที่สอง

More Related