580 likes | 797 Views
การประชุม. การขับเคลื่อนกระบวนการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗. เปิดการประชุม. ขับเคลื่อน กระบวนการ คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส. โดย พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด. รายละเอียดการประชุมวันนี้. ภาค เช้า.
E N D
การประชุม การขับเคลื่อนกระบวนการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗
เปิดการประชุม ขับเคลื่อนกระบวนการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส โดย พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
รายละเอียดการประชุมวันนี้รายละเอียดการประชุมวันนี้ ภาคเช้า วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส
การประชุมขับเคลื่อนกระบวนการคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส นโยบายการส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส โดย นางระรินทิพย์ ศิโรรัตน์ ผู้อำนวยสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ
เชิญชมวีดีวีดีทัศน์ ประมาณ ๕ นาที
การประชุมขับเคลื่อนกระบวนการคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ผู้ด้อยโอกาส โดย เจ้าหน้าที่ สทอ.
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพและยุทธศาสตร์ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพและ คุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส (พ.ศ. 2556 - 2559)
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส 2556-2559 กรอบแนวคิดการจัดทำยุทธศาสตร์ฯ กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ฯ แนวคิดที่เกี่ยวข้อง 1. การประเมินผลแผนฯ ที่ผ่านมา 2. การทบทวนสถานการณ์ผู้ด้อยโอกาส 3. การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น วิเคราะห์ SWOT-TOWS 4. เสนอคณะทำงานพิจารณา 5. ปรับปรุงแก้ไขร่างยุทธศาสตร์ฯ นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง 1. สนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน 2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 4. พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 5. ข้อกำหนดคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการ สังคมแห่งชาติ ว่าด้วยการกำหนดบุคคลหรือ กลุ่มเป้าหมายเป็นผู้รับบริการสวัสดิการสังคม พ.ศ.2555 6. แนวคิดสิทธิมนุษยชน 7. แนวคิดการคุ้มครองทางสังคม 8. แนวคิดสวัสดิการสำหรับผู้ด้อยโอกาส
วิสัยทัศน์ (Vision) “ผู้ด้อยโอกาสได้รับการยอมรับ สามารถพัฒนาตนเองและพึ่งตนเองได้ เข้าถึงสิทธิอย่างมีศักดิ์ศรี มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ภาคประชาสังคม” พันธกิจ (Mission) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ด้อยโอกาสให้สามารถพัฒนาตนเอง และพึ่งตนเองได้ ส่งเสริมการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสให้เป็นไปตามมาตรฐาน ส่งเสริมภาคีเครือข่ายประชาสังคมร่วมพัฒนามาตรการ กลไก เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ด้อยโอกาส พัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อนำไปสู่ระบบการคุ้มครองทางสังคม ที่สอดคล้องกับประชาคมโลก และประชาคมอาเซียน
ประเด็นยุทธศาสตร์และมาตรการ/กลยุทธ์ • ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมพลังและพัฒนาศักยภาพผู้ด้อยโอกาส • ยุทธศาสตร์ที่ 2 เข้าถึงสิทธิ สวัสดิการสังคม และคุ้มครอง • พิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส • ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมพลังเครือข่ายภาคประชาสังคม • ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบฐานข้อมูล องค์ความรู้ และนวัตกรรม • ทางสังคม • ยุทธศาสตร์ที่ 5 สื่อสารสาธารณะ • ยุทธศาสตร์ที่ 6 บริหารจัดการยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
ความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์ความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์ ความสำคัญ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมพลังและพัฒนาศักยภาพ ผู้ด้อยโอกาส ยุทธศาสตร์ที่ 2 เข้าถึงสิทธิ สวัสดิการสังคม และ คุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส กลุ่มเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมพลังเครือข่าย ภาคประชาสังคม การมีส่วนร่วมของเครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบฐานข้อมูล องค์ความรู้ และนวัตกรรมทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 5 สื่อสารสาธารณะ ยุทธศาสตร์ที่ 6 บริหารจัดการยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ การบริหารจัดการ
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมพลังและพัฒนาศักยภาพผู้ด้อยโอกาส มาตรการ / กลยุทธ์ มาตรการสนับสนุนส่งเสริมกลุ่มและเครือข่ายในการจัดการตนเองของผู้ด้อยโอกาส มาตรการสร้างเสริมทัศนคติการอยู่ร่วมกับผู้ด้อยโอกาสในสถานที่ทำงาน ครอบครัว ชุมชน และสังคม มาตรการเตรียมความพร้อมของผู้ด้อยโอกาสเพื่อเท่าทันการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
แผนงาน/โครงการยุทธศาสตร์ที่ 1 • โครงการสร้างพลังศักยภาพของผู้ด้อยโอกาส • โครงการส่งเสริมและสร้างหลักประกันของผู้ด้อยโอกาสในชุมชน • โครงการส่งเสริมการจ้างงานผู้ด้อยโอกาส • โครงการบ้านสร้างชีวิต • โครงการเตรียมความพร้อมให้แก่เจ้าหน้าที่รู้เท่าทันก่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • โครงการเตรียมความพร้อมผู้ด้อยโอกาสก่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเข้าถึงสิทธิ สวัสดิการสังคม และการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส มาตรการ / กลยุทธ์ มาตรการสร้างหลักประกันการเข้าถึงสิทธิและบริการสวัสดิการสังคมของผู้ด้อยโอกาส มาตรการส่งเสริมและประสานความร่วมมือการทำงานด้านผู้ด้อยโอกาสในภูมิภาคอาเซียน มาตรการส่งเสริมการเข้าถึงบริการและสิทธิตามกฎหมายของผู้ด้อยโอกาส มาตรการผลักดัน/ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิผู้ด้อยโอกาส มาตรการป้องกันและดูแลผู้ด้อยโอกาสได้รับผลกระทบจากประชาคมอาเซียน มาตรการส่งเสริมให้มีการจัดศูนย์พักพิงในระดับชุมชนให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ มาตรการสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องสิทธิ การคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ เพื่อให้ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงสวัสดิการสังคมอย่างเท่าเทียมกัน
แผนงาน/ โครงการยุทธศาสตร์ที่ 2 • โครงการส่งเสริมกองทุนสวัสดิการเพื่อการพัฒนาผู้ด้อยโอกาส • โครงการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสในประชาคมอาเซียน • โครงการอบรมด้านกฎหมายแก่เครือข่ายภาคประชาสังคม • โครงการเสริมสร้างระบบคุ้มครองผู้ด้อยโอกาสทางกฎหมาย • โครงการเตรียมความพร้อมให้แก่เจ้าหน้าที่รู้เท่าทันก่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • โครงการศูนย์พักพิงท้องถิ่นเพื่อผู้ด้อยโอกาส • โครงการส่งเสริมผู้ประกอบการ หน่วยงาน/องค์กร ให้ยกเลิก • การตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในผู้สมัครงานและพนักงาน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมพลังเครือข่ายภาคประชาสังคม มาตรการ / กลยุทธ์ มาตรการส่งเสริมภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมในกิจกรรม/โครงการเพื่อผู้ด้อยโอกาส มาตรการเชื่อมประสานภาคเอกชน (NGOs) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาชน ธุรกิจเอกชน ในการทำงานกับผู้ด้อยโอกาส 3) มาตรการสร้างเครือข่ายภาคประชาชนร่วมกันผลักดันนโยบายเกี่ยวกับผู้ด้อยโอกาสอย่างต่อเนื่อง 4) มาตรการเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อผลักดันวาระผู้ด้อยโอกาส เป็นวาระแห่งชาติ 5) มาตรการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานกับกลุ่มเป้าหมาย และแนวทางการทำงานกับภาคีเครือข่าย
แผนงาน/โครงการยุทธศาสตร์ที่ 3 • โครงการลดความเปราะบางทางสังคมของผู้ด้อยโอกาส • โครงการท้องถิ่นไม่ทอดทิ้งผู้ด้อยโอกาส • โครงการพัฒนาแกนนำจิตอาสาเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ด้อยโอกาส • ทางสังคม • โครงการพัฒนาเครือข่ายทางสังคมขับเคลื่อนผู้ด้อยโอกาส • เป็นวาระแห่งชาติ • โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางทำงานกับผู้ด้อยโอกาส
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบฐานข้อมูล องค์ความรู้ และนวัตกรรมทางสังคม มาตรการ / กลยุทธ์ 1) มาตรการพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ด้อยโอกาสที่เอื้อต่อการทำงานทุกระดับ 2) มาตรการพัฒนามาตรการทางสังคมเพื่อป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ จากกลุ่มผู้ด้อยโอกาส 3) มาตรการศึกษาและปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับให้เอื้อประโยชน์ ต่อการทำงานกลุ่มผู้ด้อยโอกาส 4) มาตรการศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับผู้ด้อยโอกาสในทุกมิติ 5) มาตรการสร้างศูนย์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส 6) มาตรการศึกษาและวิจัยเพื่อหาแนวทางการทำงานกับกลุ่มเสี่ยงใหม่และแนวทางคุ้มครองผู้ด้อยโอกาสในประชาคมอาเซียน
แผนงาน/โครงการยุทธศาสตร์ที่ 4 • โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลผู้ด้อยโอกาส • โครงการศึกษามาตรการทางสังคมเพื่อป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ จากกลุ่มผู้ด้อยโอกาสโดยคำนึงถึงทุนทางสังคมที่มีอยู่ • โครงการศึกษาและปรับปรุงกฎหมายระเบียบข้อบังคับให้เอื้อประโยชน์ต่อการทำงาน กับกลุ่มผู้ด้อยโอกาส • โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับผู้ด้อยโอกาสในทุกมิติ • โครงการสร้างศูนย์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส • โครงการศึกษาและวิจัยเพื่อหาแนวทางการทำงานกับกลุ่มเสี่ยงใหม่และแนวทางคุ้มครองผู้ด้อยโอกาสในประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสื่อสารสาธารณะ มาตรการ / กลยุทธ์ • มาตรการเพิ่มช่องทางและหาแนวทางการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับกิจกรรม/โครงการของผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ที่หลากหลายช่องทางและให้ประชาชนรับทราบข้อมูลอย่างกว้างขวาง • มาตรการเสริมสร้างกระแสสังคมให้มีทัศนคติที่ดีต่อกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทุกกลุ่มและให้สังคมเป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสในสังคมร่วมกัน
แผนงาน/โครงการยุทธศาสตร์ที่ 5 • โครงการสร้างกระแสสังคมสร้างพลังผู้ด้อยโอกาส • โครงการพัฒนาเครือข่ายทางสังคมขับเคลื่อนพลังผู้ด้อยโอกาสสู่สาธารณะ • โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางทำงานกับกลุ่มผู้ด้อยโอกาส • โครงการเสริมสร้างทักษะการปฏิบัติงานกับกลุ่มผู้ด้อยโอกาส • โครงการปรับเปลี่ยนเจตคติที่ดีต่อผู้ด้อยโอกาส
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ มาตรการ / กลยุทธ์ มาตรการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานกับผู้ด้อยโอกาสที่มีทิศทางเดียวกัน ทั้งในระดับนโยบายและระดับการปฏิบัติงาน ตลอดจนสร้างแนวทางปฏิบัติร่วมกัน มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีโครงการพัฒนาศักยภาพ และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์ผู้ด้อยโอกาสในท้องถิ่นของตนเอง มาตรการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานในการพัฒนางานวิจัยและพัฒนาต้นแบบการจัดสวัสดิการสังคมแก่ผู้ด้อยโอกาส มาตรการประเมินผลการดำเนินโครงการทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ตลอดจน การสร้างบทเรียนรู้ อย่างเป็นรูปธรรมให้เกิดขึ้นในสังคม
แผนงาน/โครงการยุทธศาสตร์ที่ 6 • โครงการสร้างความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานคุ้มครองและ พิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส • โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส • โครงการต้นแบบของตนเองเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติร่วมกันในสังคม • โครงการติดตามและประเมินผลการนำยุทธศาสตร์ฯ ไปใช้
เป้าประสงค์เมื่อสิ้นสุดแผนฯ มีฐานข้อมูลผู้ด้อยโอกาส รายงานสถานการณ์ผู้ด้อยโอกาส ผลักดันกฎหมายคุ้มครองผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงสิทธิ สร้างความร่วมมือในการส่งเสริมสิทธิของผู้ด้อยโอกาส เสริมพลัง ส่งเสริม สนับสนุนผู้ด้อยโอกาส กลุ่ม ชุมชน องค์กรท้องถิ่น ในการพิทักษ์สิทธิและการคุ้มครองทางสังคม ผู้ด้อยโอกาสได้รับการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิตามมาตรฐาน การส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ข้อกำหนดคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ ว่าด้วยการกำหนดบุคคลหรือกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้รับบริการสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2555 กลุ่มบุคคลเป้าหมายเป็นผู้รับบริการสวัสดิการที่เกี่ยวข้องกับผู้ด้อยโอกาส มี 4 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มชุมชนเมือง คนจนเมือง คนเร่ร่อน 2. กลุ่มคนที่มีปัญหาสถานะบุคคลและ กลุ่มชาติพันธุ์ 3. กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์และ ผู้ได้รับผลกระทบ 4. กลุ่มผู้อยู่ในกระบวนการยุติธรรม สทอ. ได้กำหนดขอบเขตกลุ่มผู้ด้อยโอกาสไว้ 5 กลุ่ม ได้แก่ 1. คนยากจน 2. คนเร่ร่อน/ไร้ที่อยู่อาศัย 3. ผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร 4. ผู้ติดเชื้อเอชไอวี / ผู้ป่วยเอดส์ / ผู้ได้รับผลกระทบ 5. ผู้พ้นโทษ
วิสัยทัศน์ สังคมไทยมีระบบสวัสดิการถ้วนหน้า ที่หลากหลายและเหมาะสม ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันทางสังคมอย่างทั่วถึง เป็นธรรม และมีส่วนร่วม พร้อมก้าวสู่ประชาคมโลก พันธกิจ • สร้างระบบสวัสดิการสังคมที่ประชาชนมีหลักประกันความมั่นคงของชีวิตและสังคม พร้อมสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก • 2. พัฒนากลไกและมาตรการให้ประชาชนเข้าถึงสวัสดิการและได้รับการคุ้มครองทางสังคมอย่างเหมาะสม ทั่วถึง และเป็นธรรม • 3. ขับเคลื่อนและสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีความรับผิดชอบต่อสังคมและมีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการสังคม
ยุทธศาสตร์สวัสดิการสังคมไทย ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2555 - 2559) 1. ยุทธศาสตร์การสร้างและพัฒนาระบบสวัสดิการเพื่อสวัสดิการถ้วนหน้า 2. ยุทธศาสตร์เสริมพลังทุกภาคส่วนสู่สังคมสวัสดิการ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานบริการ และการบริหาร จัดการ 4. ยุทธศาสตร์การสร้างและพัฒนามาตรการทางการเงิน การคลัง และการระดมทุนเพื่อสังคม 5. ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนระบบสวัสดิการสังคมไทยสู่ประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก 6. ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของระบบเตรียมความพร้อมและฟื้นฟู ในภาวะฉุกเฉิน
ทบทวนแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดที่เชื่อมโยงกับทบทวนแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดที่เชื่อมโยงกับ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส * สถานการณ์ผู้ด้อยโอกาส * แผนงาน/โครงการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมาย (ตารางการเชื่อมโยง)
การประชุมขับเคลื่อนกระบวนการคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส กระบวนการคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส โดย เจ้าหน้าที่ สทอ.
ระดับจังหวัด ระดับพื้นที่ การขับเคลื่อนกระบวนการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ 4. กิจกรรม สำหรับ ผู้ดอยโอกาส • สร้างกลไก • การทำงาน 2. เรียนรู้ ค้นหา ผู้ด้อยโอกาส 1.ทบทวนแผน จัดสวัสดิการ สังคม 5. ประเมิน มาตรฐานฯ/ รายงานผล 4. คัดเลือก บุคคลต้นแบบ การดำเนินงาน ปี 2557 3.กิจกรรมสร้างความตระหนักในคุณค่าตนเอง 2. ทบทวน สถานการณ์ ผู้ด้อยโอกาส 5. ส่งเสริมกระบวน การคุ้มครองและ พิทักษ์สิทธิ 3. สนับสนุนกลไก การคุ้มครองและ พิทักษ์สิทธิ
กิจกรรม ๑ การจัดตั้งกลไกลการทำงาน สร้างความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน และจัดทำแผนฯ
กิจกรรม ๒ การเรียนรู้ และค้นหาผู้ด้อยโอกาส ค้นหา และจัดเก็บข้อมูลผู้ด้อยโอกาส
กิจกรรม ๓ กิจกรรมการสร้างความตระหนักในคุณค่าของตนเอง ผู้ด้อยโอกาสเห็นคุณค่า มั่นใจร่วมกิจกรรม และมีการรวมกลุ่มช่วยเหลือกันเอง
กิจกรรม ๔ กิจกรรมการพัฒนาฯ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงบริการ สวัสดิการ และมีกลุ่มช่วย ดูแลกันและกัน
กิจกรรม ๕ การประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานฯ รับทราบความก้าวหน้า เป็นการประเมินผลตามมาตรฐานฯ สามารถกำหนดแนวทางในการพัฒนาต่อเนื่อง ต่อไป
การประเมินมาตรฐานฯ ผู้ด้อยโอกาส เป็นการประเมินผลตามมาตรฐานฯ เพื่อสามารถกำหนดแนวทางในการพัฒนาต่อเนื่อง มาตรฐานฯ ผู้ด้อยโอกาส ประเมิน การประเมิน มาตรฐานฯ การวิเคราะห์ แนวทางกิจกรรม
มาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพ และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส
มาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพ และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส (ข้อกำหนดด้านสังคม) กลุ่มคนยากจน
มาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพ และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส (ข้อกำหนดด้านสังคม) กลุ่มคนเร่ร่อน/ไร้ที่อยู่อาศัย
มาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพ และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส (ข้อกำหนดด้านสังคม) กลุ่มบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร คนไร้สัญชาติ
มาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพ และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส (ด้านสังคม) กลุ่มผู้พ้นโทษ
มาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพ และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส (ข้อกำหนดด้านสังคม) กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์
มาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพ และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส (ข้อกำหนดด้านสังคม) กลุ่มครอบครัวของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์
การนำไปใช้ • เทียบค่าคะแนนที่ได้กับเกณฑ์มาตรฐาน • พิจารณาจัดทำโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนา • ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์
การสนับสนุนงบประมาณดำเนินงาน จำนวน ๕๔,๐๐๐ บาท ม.ค. – ก.พ. ๕๗ ก.พ. – มี.ค. ๕๗ ม.ค. – ก.พ. ๕๗ ก.พ. – มี.ค. ๕๗
การประชุมขับเคลื่อนกระบวนการคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส กิจกรรมการสร้างความตระหนักในคุณค่าในตนเอง โดย เจ้าหน้าที่ สทอ. เวลา 13.00 – 14.30 น.