1 / 10

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

การกำหนดขั้นตอนตำแหน่งทางวิชาการ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์. รองศาสตราจารย์. ศาสตราจารย์. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ข้าราชการ. วิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ สามารถใช้ผลงานดังต่อไปนี้ 1. งานวิจัย 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น 3. ผลงานรับใช้สังคม 4. งานแต่ง หรือ เรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ

avye-burt
Download Presentation

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกำหนดขั้นตอนตำแหน่งทางวิชาการการกำหนดขั้นตอนตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์

  2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ข้าราชการ • วิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ สามารถใช้ผลงานดังต่อไปนี้ • 1. งานวิจัย • 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น • 3. ผลงานรับใช้สังคม • 4. งานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ • หรือบทความทางวิชาการ • (เลือกข้อใด ข้อหนึ่ง มีผลการประเมินคุณภาพระดับ ดี ขึ้นไป)

  3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัย วิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ สามารถเลือกได้ 2 วิธี ต่อไปนี้ วิธีที่ 1 ประกอบไปด้วย 1.1 ผลงานวิจัย และ 1.2ตำรา,หนังสือ,บทความทางวิชาการ ผลประเมิน = ดี วิธีที่ 2 มี 2 วิธี 2.1งานวิจัย 2 ชิ้น ผลประเมิน=ดี 2.2งานวิจัย 1 ชิ้น ผลประเมิน= ดีมาก

  4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิธีพิเศษ วิธีพิเศษ คือ 1. การขอก้าวกระโดด ตัวอย่างเช่น จากอาจารย์ ไปเป็นรองศาสตราจารย์ 2. การขอก่อนครบกำหนดอายุ เช่นก่อนจะขอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จะต้องเป็นดำรงตำแหน่งอาจารย์ 2 ปีขึ้นไป วิธีการขอกำหนดตำแหน่งจะต้องมีผลงาน 1.1 ผลงานวิจัย และ 1.2 ตำรา,หนังสือ,บทความทางวิชาการ ผลประเมิน = ดีมาก

  5. รองศาสตราจารย์ ข้าราชการ • วิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ สามารถใช้ผลงานดังต่อไปนี้ • 1. งานวิจัย • 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น • 3. ผลงานรับใช้สังคม และ • 1. งานแต่ง หรือเรียบเรียง ตำรา หรือหนังสือ • หรือบทความทางวิชาการ • (มีผลการประเมินระดับ ดี )

  6. รองศาสตราจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัย • วิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ มี 2 วิธี • วิธีที่ 1 1. งานวิจัย • 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น • 3. ผลงานรับใช้สังคม และ • 1. งานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ • (มีผลการประเมินระดับ ดี ) • วิธีที่ 2 เลือกได้ 2 วิธี คือ • 2.1 งานวิจัย 2 ชิ้น ผลการประเมิน = ดี • 2.2 งานวิจัย 1 ชิ้น ผลการประเมิน = ดีมาก

  7. รองศาสตราจารย์ วิธีพิเศษ • วิธีพิเศษ คือ 1. การขอก้าวกระโดด ตัวอย่างเช่น • จากอาจารย์ ไปเป็นรองศาสตราจารย์ • 2. การขอก่อนครบกำหนดอายุ เช่นก่อนจะขอ • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จะต้องเป็นดำรงตำแหน่งอาจารย์ 2 ปีขึ้นไป • วิธีการขอกำหนดตำแหน่งจะต้องมีผลงาน • 1.1 ผลงานวิจัย และ • 1.2 งานแต่งตำราหรือ หนังสือ • ผลประเมิน = ดีมาก • กระทำได้ต้องเป็นวิธีที่ 1 เท่านั้น

  8. ศาสตราจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัยและข้าราชการ • วิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ มี 2 วิธี • วิธีที่ 1 1. งานวิจัย หรือ • 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น หรือ • 3. ผลงานรับใช้สังคม และ • 1. งานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ • (มีผลการประเมินระดับ ดีมาก ) • โดยมีผู้ประเมินจำนวน 3 ท่าน และ 2 ใน 3 เสียง ต้องเป็นดีมาก

  9. ศาสตราจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัยและข้าราชการ • วิธีที่ 2 1. งานวิจัย หรือ • 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น หรือ • 3. ผลงานรับใช้สังคม หรือ • 1. งานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ • (มีผลการประเมินระดับ ดีเด่น) • โดยมีผู้ประเมินจำนวน 3 ท่าน และ 2 ใน 3 เสียง ต้องเป็นดีเด่น

  10. ศาสตราจารย์ วิธีพิเศษ • 1. งานวิจัย หรือ • 2. ผลงานลักษณะลักษณะอื่น หรือ • 3. ผลงานรับใช้สังคม และ • 1. งานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หรือ หนังสือ • (มีผลการประเมินระดับ ดีเด่น) • โดยมีผู้ประเมินจำนวน 5 ท่าน และ 4 ใน 5 เสียง ต้องเป็นดีเด่น

More Related