290 likes | 779 Views
สมบัติทางเคมีขà¸à¸‡à¸”ิน. บรรยายโดย ผศ.ดร. สมศัà¸à¸”ิ์ มณีพงศ์ ห้à¸à¸‡à¸—ำงาน : à¸à¸²à¸„ารวิชาà¸à¸²à¸£ 4 ห้à¸à¸‡ 224 Website : http://www.wu.ac.th/ cai /msomsak/. สมบัติทางเคมีขà¸à¸‡à¸”ิน.
E N D
สมบัติทางเคมีของดิน บรรยายโดย ผศ.ดร. สมศักดิ์ มณีพงศ์ ห้องทำงาน : อาคารวิชาการ 4 ห้อง 224 Website : http://www.wu.ac.th/cai/msomsak/
สมบัติทางเคมีของดิน สมบัติทางเคมีของดิน หมายถึง สมบัติของดินที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางเคมีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในดิน เช่น การดูดซับไอออน การแลกเปลี่ยนไอออน ความเป็นกรดเป็นด่าง ความเค็ม เป็นต้น
สมบัติทางเคมีของดิน องค์ประกอบของดินที่มีบทบาทสำคัญในการแสดงสมบัติทางเคมี คือ อนุภาคดินเหนียว และอินทรีย์วัตถุ เนื่องจากเป็นองค์ ประกอบที่มี surface area และ functional group ต่างๆ มาก
สมบัติทางเคมีของดิน • ประจุไฟฟ้าในดิน • การดูดซับไอออนของดิน • การแลกเปลียนไอออนของดิน • ความเป็นกรดเป็นด่าง • ความเค็ม
ประจุไฟฟ้าในดิน ประจุไฟฟ้าในดินแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ประจุเปลี่ยนแปลง (variable charge) หรือบางครั้งเรียกว่าประจุขึ้นกับ pH (pH dependent charge) ประจุถาวร (permanent charge)
ประจุเปลี่ยนแปลง (variable charge) ประจุชนิดนี้เกิดจากปฏิกริยา protonation และ deprotonation ของ silanol group(SiOH), aluminol group(AlOH) และ hydroxyl group ที่ผิวหรือขอบของแร่ดินเหนียวและสารประกอบประเภทออกไซด์และไฮดรอกไซด์ ดังสมการ Si - OH + H+ = Si - OH2+(protonation) Si - OH = Si - O- + H+ (deprotonation)
ประจุเปลี่ยนแปลง (variable charge) ในกรณีของสารอินทรีย์ ประจุชนิดนี้เกิดจากการแตกตัวของ functional group ต่าง ๆ เช่น O O R - C - OH = R - C - O- + H+ dissociation R - NH2 + H+ = R - NH3+ association
ประจุเปลี่ยนแปลง (variable charge) ความเข้มข้นของ H+ สูงขึ้น (pH ต่ำลง) ปฏิกริยาจะก้าวหน้าไปทางด้าน protonation หรือ association จึงทำให้ดินประจุบวกมีมากขึ้นและประจุลบมีน้อยลง ในทางตรงกันข้ามถ้า pH ของดินสูงขึ้น ประจุลบจะมากขึ้นและประจุบวกจะน้อยลง - + ประจุ pH สูง ต่ำ
ประจุถาวร (permanent charge) เกิดจากการแทนที่ของไอออนที่มีขนาดใกล้เคียงกันแต่มีขนาดประจุต่างกัน (isomorphous substitution) ในโครงผลึกของแร่ดินเหนียว Al3+ / Mg2+ Si4+
ประจุถาวร (permanent charge) Al3+ ถูกแทนที่ด้วย Mg2+ Fe2+ Zn2+ ประจุสุทธิ = ลบ
การดูดซับไอออน (ion adsorption) ดินที่ใช้ในการเกษตรทั่วไปมักมีทั้งประจุเปลี่ยนแปลงและประจุถาวร ปริมาณประจุแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับปริมาณอินทรีย์วัตถุและชนิดของแร่ดินเหนียวที่เป็นองค์ประกอบ เนื่องจากดินมีประจุนี้เองทำให้ดินดูดซับแคทไอออนและแอนไอออนเอาไว้ปริมาณหนึ่ง ปริมาณไอออนที่ดินดูดซับไว้มีค่าใกล้เคียงกับปริมาณประจุที่ดินมีอยู่
การดูดซับไอออน (ion adsorption) K+ Mg2+ H+ Na+ Al3+ K+ Ca2+ H+
ชนิดของไอออนต่อสมบัติของดินชนิดของไอออนต่อสมบัติของดิน ดินที่มี Na มากจะฟุ้งกระจาก ดินมี Ca/Mg มากจับตัวเป็นก้อนได้ดี Na+ Na+ Na+ Na+ Na+ Na+ Na+ Na+
การแลกเปลี่ยนไอออน (ion exchange) การแลกเปลี่ยนไอออนเกิดขึ้นเมื่อความเข้นข้นของไอออนชนิดใดชนิดหนึ่งในสารละลายดินสูงขึ้น ทำให้ไอออนชนิดนั้นเคลื่อนที่จากสารละลายไปยังผิวของอนุภาคพร้อม ๆ กับไล่ที่ไอออนอื่นที่ถูกดูดซับอยู่ก่อนให้ออกมาอยู่ในสารละลาย เพื่อรักษาสมดุลย์ของประจุ
ความจุในการแลกเปลี่ยนแคทไอออน ความจุในการแลกเปลี่ยนแคทไอออน (cation exchange capacity ย่อ CEC) หมายถึงสามารถสูงสุดต่อหน่วยน้ำหนักที่ดินสามารถดูดซับแคทไอออนได้ว่า เนื้อดิน อินทรีย์วัตถุ ชนิดของแร่ดินเหนียว ปริมาณดินเหนียว ค่า CEC ขึ้นอยู่กับ
ความจุในการแลกเปลี่ยนแคทไอออน เนื้อดิน CEC (cmol(+)/kg) Sand 1 -5 fine sandy loam 5 - 10 loam & silt loam 5 - 15 clay loam 15 - 30 clay > 30
ความจุในการแลกเปลี่ยนแคทไอออน องค์ประกอบ CEC (cmol(+)/kg) Humus 100 - 300 Vermiculite 80 - 150 Montmorillonite 60 - 100 Kaolinite 3 -15 Oxide 0 - 3
วิธีคำนวณ CEC CEC สามารถคำนวณได้จากผลรวมของ acidic cation (exchangeable acidity) และ basic cation เช่น ดินตัวอย่างหนึ่งมี exchangeable acidity = 2 mmole/kg Ca = 420 mg/kg Mg = 80 mg/kg K = 110 mg/kg Na = 50 mg/kg
วิธีคำนวณ CEC Ca 1 mmol = 40.08 mg Mg 1 mmol = 24.31 mg K 1 mmol = 39.10 mg Na 1 mmol = 22.99 mg Ca = 420/40.08 mmol/kg Mg = 80/24.31 mmol/kg K = 110/39.10 mmol/kg Na = 50/22.99 mmol/kg
วิธีคำนวณ CEC Ca 1 mmol = 2 mmol(+) Mg 1 mmol = 2 mmol(+) K 1 mmol = 1 mmol(+) Na 1 mmol = 1 mmol(+) Ca = 2*420/40.08 mmol(+)/kg Mg = 2*80/24.31 mmol(+)/kg K = 1*110/39.10 mmol(+)/kg Na = 1*50/22.99 mmol(+)/kg
วิธีคำนวณ CEC Ca = 2*420/40.08 mmol(+)/kg Mg = 2*80/24.31 mmol(+)/kg K = 1*110/39.10 mmol(+)/kg Na = 1*50/22.99 mmol(+)/kg exchangeable acidity = 2 mmol(+)/kg CEC mmol(+)/kg
วิธีคำนวณ CEC CEC ที่ได้จาก ผลรวมของ acidic cation และ basic cation เรียกว่า effective CEC
ชนิดของแคทไอออนที่แลกเปลี่ยนได้ชนิดของแคทไอออนที่แลกเปลี่ยนได้ Exchangeable cation ที่พบมากในดินมี 6 ชนิด คือ Ca2+, Mg2+, K+, Na+, Al3+ และ H+ แคทไอออนเหล่านี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. Basic cation ได้แก่ Ca2+, Mg2+, K+, และ Na+ 2. Acidic cation ได้แก่ Al3+ และ H+
ทำไม Al จึงเป็นกรด Al3+เกิดปฏิกริยากับน้ำแล้วให้ H+ ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นกับแคทไอออนอื่นด้วย เช่น Fe3+ Mn2+ Al3+ + H2O = Al(OH)2+ + H+ Al(OH)2+ + H2O = Al(OH)2+ + H+ Al(OH)2+ + H2O = Al(OH)3
Base saturation (BS) BS คือ ปริมาณรวมของแคทไอออนที่เป็นด่างทั้ง 4 (รวมโดยโมลประจุ) เทียบกับปริมาณประจุทั้งหมดที่ดินมี %BS = 100x(Ca + Mg + K + Na)/CEC BS มีค่ามาก แสดงว่าดินมีธาตุอาหารพืชอยู่มาก
ความเป็นกรดเป็นด่างของดินความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ต่อชุดที่ ๒