410 likes | 763 Views
สถานการณ์ประมงทะเลในประเทศไทย. จุมพล สงวนสิน ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล. ผลผลิตสัตว์ทะเลจากการประมงบริเวณน่านน้ำไทย. จำนวนเรือที่จดทะเบียนฯ การมีไว้ในครอบครองซึ่งเครื่องมือทำการประมงในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน.
E N D
สถานการณ์ประมงทะเลในประเทศไทยสถานการณ์ประมงทะเลในประเทศไทย จุมพล สงวนสิน ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล
ผลผลิตสัตว์ทะเลจากการประมงบริเวณน่านน้ำไทยผลผลิตสัตว์ทะเลจากการประมงบริเวณน่านน้ำไทย
จำนวนเรือที่จดทะเบียนฯ การมีไว้ในครอบครองซึ่งเครื่องมือทำการประมงในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
จำนวนเรือที่จดทะเบียนฯ การมีไว้ในครอบครองซึ่งเครื่องมือทำการประมงในน่านน้ำไทยจำแนกตามชนิดเครื่องมือทำการประมง
เครื่องมือ อ่าวไทย อันดามัน รวมทั้งหมด อวนลาก 3,679 684 4,363 อวนล้อมจับ 978 212 1,190 อวนรุน 428 3 431 อวนติดตา 1,321 85 1,406 อวนช้อน อวนยก 277 - 277 อวนครอบ 2,870 230 3,100 อื่นๆ 1,842 447 2,289 รวมทั้งหมด 11,395 1,661 13,056 จำนวนเรือที่จดทะเบียนฯ การมีไว้ในครอบครองซึ่งเครื่องมือทำการประมงในน่านน้ำไทยจำแนกตามชนิดเครื่องมือทำการประมง
อัตราการจับสัตว์น้ำจากเรือสำรวจประมงบริเวณอ่าวไทยอัตราการจับสัตว์น้ำจากเรือสำรวจประมงบริเวณอ่าวไทย
อัตราการจับสัตว์น้ำจากเรือสำรวจประมงฝั่งทะเลอันดามันอัตราการจับสัตว์น้ำจากเรือสำรวจประมงฝั่งทะเลอันดามัน 282.86 กก./ชม. 44.172 กก./ชม.
ปริมาณที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน และสถานภาพปลาหน้าดินและปลาเป็ดในอ่าวไทย • ปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน 900,376 ตัน • ปริมาณการลงแรงประมงที่เหมาะสม 31.06 ล้านชั่วโมง • ผลจับ ปี 2550 614,818 ตัน • การลงแรงประมง ปี 2550 46.68 ล้านชั่วโมง • สถานภาพ สูงกว่าระดับที่เหมาะสม 33 %
ผลจับทั้งหมด สัตว์น้ำเศรษฐกิจ ปลาเป็ด อวนลาก อัตราการจับ อัตราการจับ ร้อยละ อัตราการจับ ร้อยละ 20.35±13.54 11.41 56.07 8.94 43.93 แผ่นตะเฆ่ < 14 เมตร 38.15±20.06 20.3 53.21 17.85 46.79 แผ่นตะเฆ่ขนาด 14-18 เมตร อวนลากคู่ 139.73±75.64 90.11 64.49 49.62 35.51 อัตราการจับและองค์ประกอบสัตว์น้ำจากเรืออวนลากทางฝั่งอ่าวไทย
แนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำแนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ สภาพปัญหาทรัพยากรสัตว์น้ำเสื่อมโทรม สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมทำการประมงเกินกำลังผลิต (Overfishing) แนวทางแก้ไข - กำหนดมาตรการห้ามทำการประมงด้วยเครื่องมือบางชนิดในแต่ละแหล่งประมง -กำหนดมาตรการอนุรักษ์ เช่น การกำหนดเขตประมง จำกัดขนาดตาอวน มาตรการควบคุมเครื่องมือประมงที่มากเกินไป
แนวทางแก้ไข • ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ • จัดสร้างปะการังเทียม • สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ -สนับสนุนการปรับเปลี่ยนเครื่องมือประมงที่ทำลายพันธุ์สัตว์น้ำเป็นเครื่องมือประมงที่ไม่ทำลายพันธุ์สัตว์น้ำ - ส่งเสริมการทำประมงนอกน่านน้ำ
การบริหารจัดการการประมงอวนลาก และอวนรุน มาตรการสนับสนุนเพื่อความยั่งยืน การจัดการการทำประมงทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดิน การลดจำนวนเรืออวนลากและอวนรุนลงจากเดิมร้อยละ 33 การจัดตั้งกองทุนเพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนอาชีพและซื้อเรือคืน การขยายขนาดตาอวนก้นถุงของอวนลากและอวนรุน การลงแรงประมงที่เหมาะสมกับศักย์การผลิตของทรัพยากรสัตว์หน้าดิน การควบคุมการทำประมงโดยการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด การควบคุมจำนวนเรืออวนลากและอวนรุน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดิน การกำหนดเขตการทำประมงและเครื่องมือประมงที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำและปฏิบัติตามกฎหมาย การขยายพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์สัตว์น้ำให้มากขึ้น การฟื้นฟูระบบนิเวศและเพิ่มผลผลิตของทรัพยากรสัตว์น้ำ การจัดสร้างแหล่งอาศัยสัตว์ทะเลและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ แผนภูมิแนวทางการจัดการการทำประมงทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดินในอ่าวไทย
สภาพปัญหาปัญหาความขัดแย้งในการทำประมงสภาพปัญหาปัญหาความขัดแย้งในการทำประมง แนวทางแก้ไข • ควบคุม ดูแล การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง • จัดตั้งคณะกรรมการพหุพาคี ทั้งระดับจังหวัดและชุมชนเพื่อหาข้อยุติ เน้นการมีส่วนร่วมในการจัดการประมง - จัดทำแผนแม่บทการจัดการประมงทะเลไทย
สภาพปัญหาปัจจัยการผลิตมีราคาสูงสภาพปัญหาปัจจัยการผลิตมีราคาสูง แนวทางแก้ไข - จำหน่ายน้ำมันดีเซล (น้ำมันเขียว) ในเขตต่อเนื่อง ในราคาต่ำกว่า บนฝั่ง ลิตรละ 8-10 บาท - จำหน่ายน้ำมันดีเซล (น้ำมันม่วง) ในทะเลอาณาเขต ในราคาต่ำกว่า ลิตรละ 2 บาท - ส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล - ทดลองใช้ไบโอดีเซล (B100) กับเครื่องยนต์เรือ - ส่งเสริมการใช้กาซธรรมชาติ ทั้ง NGV และ LNG สำหรับเรือประมง
สภาพปัญหาการขาดแคลนแรงงานสภาพปัญหาการขาดแคลนแรงงาน แนวทางแก้ไข - ศึกษาเครื่องมือที่จะนำมาช่วยในการลดแรงงานการทำประมง
สภาพปัญหาปัญหาราคาสัตว์น้ำตกต่ำสภาพปัญหาปัญหาราคาสัตว์น้ำตกต่ำ • แนวทางแก้ไข • ส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่ม เช่น จัดตั้งสหกรณ์ประมง กลุ่มชาวประมง • จัดตั้งตลาดกลางสินค้าสัตว์น้ำ • ส่งเสริมการแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่าสัตว์น้ำ • ส่งเสริมสุขอนามัยเรือประมง เพื่อยกระดับมาตรฐานสินค้า
สภาพปัญหาปัญหาการประมงนอกน่านน้ำ สาเหตุจาก - การประกาศเขตเศรษฐกิจจำเพาะ (EEZ) ของประเทศเพื่อนบ้าน • ผลจากกฎและระเบียบในการทำการประมงในน่านน้ำประเทศเพื่อนบ้านและน่านน้ำสากล • แนวทางแก้ไข - ส่งเสริมและพัฒนาการประมงนอกน่านน้ำไทย - สนับสนุนการปรับเปลี่ยนเรือประมงไปทำการประมงอวนล้อมจับปลาทูน่า ในน่านน้ำสากล - สนับสนุนการปรับเปลี่ยนเรือประมงไปทำการประมงเบ็ดราวปลาทูน่า
สภาพปัญหาปัญหาและผลกระทบจากกฎระเบียบของสหภาพยุโรป เกี่ยวกับการป้องกัน ขจัด และยับยั้งการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (การทำการประมงไอยูยู) แนวทางแก้ไข - ประชุมสัมมนา ชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และเอกชนได้เข้าใจ และเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ - ร่วมศึกษาผลกระทบกฎระเบียบดังกล่าวที่จะมีต่อประเทศไทย
แนวทางแก้ไข • กรมประมงเป็นหน่วยงาน competent authority และจัดวางระบบการออกใบรับรองสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการตรวจสอบย้อนกลับ • - ฝึกอบรมทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานรวมทั้งการทำการประมงและเรือที่ถูกกฎหมาย ได้แก่ การจดทะเบียนเรือและการขออาชญาบัตรทำการประมง
ขอขอบคุณ สวัสดี
แนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำแนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ • ทางตรง • ลดการลงแรงประมง • ฝั่งทะเลอันดามัน:ทรัพยากรปลาผิวน้ำและปลาหน้าดินอยู่ ในสภาวะที่ยอมรับได้ • ฝั่งอ่าวไทย : ทรัพยากรปลาผิวน้ำ สูงกว่าเพียง 5% • ทรัพยากรปลาหน้าดิน สูงกว่าระดับที่เหมาะสม 33% ต้องลดการลงแรงประมง
แนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำแนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ • ทางอ้อม • การปรับเปลี่ยนเครื่องมือประมง • ขยายตาอวนก้นถุงอวนลากอวนรุน จากปัจจุบัน 2.5 ซม. • อวนลากปลา ขยายเป็น 4 ซม. • ปริมาณสัตว์น้ำที่หลุดลอด 29% มูลค่า 1,323 ล้านบาท • ผ่านไป 6 เดือน สัตว์น้ำที่ได้รับมีมูลค่า 2,799 ล้านบาท • อวนลากปลา ขยายเป็น 6 ซม. • ปริมาณสัตว์น้ำที่หลุดลอด 71% มูลค่า 2,739 ล้านบาท • ผ่านไป 6 เดือน สัตว์น้ำที่ได้รับมีมูลค่า 6,323 ล้านบาท
แนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำแนวทางการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ • ทางอ้อม • ขยายเขตอนุรักษ์และควบคุมการทำประมงอย่างมีประสิทธิภาพ • เขตมาตรการปิดอ่าว • เขตมาตรการอนุรักษ์ตามระยะห่างฝั่ง
มาตรการปิดอ่าวบริเวณอ่าวไทยและทะเลอันดามันมาตรการปิดอ่าวบริเวณอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มาตรการปิดอ่าว
มาตรการขยายเขต 3 ไมล์ เป็น 5 ไมล์
ข้อพิจารณาในการขยายเขตอนุรักษ์ข้อพิจารณาในการขยายเขตอนุรักษ์ • ใกล้ฝั่งมีสัตว์น้ำเศรษฐกิจขนาดเล็กกว่าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ์ • ใกล้ฝั่งมีความหนาแน่นของลูกปลาขนาดเล็กสูงกว่าบริเวณห่างฝั่ง • แหล่งวางไข่และเลี้ยงตัววัยอ่อน
การบริหารจัดการการประมงอวนลาก และอวนรุน มาตรการสนับสนุนเพื่อความยั่งยืน การจัดการการทำประมงทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดิน การลดจำนวนเรืออวนลากและอวนรุนลงจากเดิมร้อยละ 33 การจัดตั้งกองทุนเพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนอาชีพและซื้อเรือคืน การขยายขนาดตาอวนก้นถุงของอวนลากและอวนรุน การลงแรงประมงที่เหมาะสมกับศักย์การผลิตของทรัพยากรสัตว์หน้าดิน การควบคุมการทำประมงโดยการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด การควบคุมจำนวนเรืออวนลากและอวนรุน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดิน การกำหนดเขตการทำประมงและเครื่องมือประมงที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำและปฏิบัติตามกฎหมาย การขยายพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์สัตว์น้ำให้มากขึ้น การฟื้นฟูระบบนิเวศและเพิ่มผลผลิตของทรัพยากรสัตว์น้ำ การจัดสร้างแหล่งอาศัยสัตว์ทะเลและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ แผนภูมิแนวทางการจัดการการทำประมงทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดินในอ่าวไทย
ปริมาณที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน และสถานภาพปลาหน้าดินและปลาเป็ดในอ่าวไทยเฉลี่ย ปี 2546-2550 • ปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน 900,376 ตัน • ปริมาณการลงแรงประมงที่เหมาะสม 31.06 ล้านชั่วโมง • ผลจับเฉลี่ย ปี 2546-2550 703,248 ตัน • การลงแรงประมงเฉลี่ย ปี 2546-2550 43.30 ล้านชั่วโมง • สถานภาพ สูงกว่า 28 %
ปริมาณการจับปลาหน้าดินและปลาเป็ดในอ่าวไทย ปี 2514-2550
ปริมาณการจับปลาหน้าดินในอ่าวไทย ปี 2514-2550
ปริมาณการจับปลาเป็ดในอ่าวไทย ปี 2514-2550
ปริมาณที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน และสถานภาพปลาหน้าดินและปลาเป็ดทางฝั่งทะเลอันดามัน • ปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้สูงสุดและยั่งยืน 436,832 ตัน • ปริมาณการลงแรงประมงที่เหมาะสม 5.77 ล้านชั่วโมง • ผลจับเฉลี่ย ปี 2546-2550 427,210 ตัน • การลงแรงประมงเฉลี่ย ปี 2546-2550 5.45 ล้านชั่วโมง • สถานภาพ ต่ำกว่า 5 %
ปริมาณการจับปลาผิวน้ำในอ่าวไทยปริมาณการจับปลาผิวน้ำในอ่าวไทย
ผลจับที่สูงสุดและยั่งยืนผลจับที่สูงสุดและยั่งยืน ผลจับ (พันตัน) ชั่วโมงการลงแรงประมง
เปรียบเทียบขนาดและสัดส่วนขนาดสัตว์น้ำระหว่างเขต 3 ไมล์ทะเลกับ 10 ไมล์ทะเลฝั่งอ่าวไทย
เปรียบเทียบขนาดและสัดส่วนขนาดสัตว์น้ำระหว่างเขต 3 ไมล์ทะเลกับ 10 ไมล์ทะเลฝั่งทะเลอันดามัน