190 likes | 306 Views
แผนพัฒนาฝ่ายการศึกษาระดับหลังปริญญา และการศึกษาต่อเนื่อง. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์. พชท./พจบ./ Fellow. แพทย์ใช้ทุน 29 คน แพทย์ประจำบ้าน 15 คน แพทย์ประจำบ้านสาขาต่อยอด 12 คน รวมทั้งหมด 56 คน. คลินิกอายุรกรรมทั่วไปและ คลินิกอายุรกรรมตามสาขา
E N D
แผนพัฒนาฝ่ายการศึกษาระดับหลังปริญญา และการศึกษาต่อเนื่อง ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
พชท./พจบ./Fellow แพทย์ใช้ทุน 29 คน แพทย์ประจำบ้าน 15 คน แพทย์ประจำบ้านสาขาต่อยอด 12 คน รวมทั้งหมด 56 คน
คลินิกอายุรกรรมทั่วไปและ คลินิกอายุรกรรมตามสาขา หอผู้ป่วยอายุรกรรมหญิง หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1 หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 หออภิบาลผู้ป่วย (ICU) หอผู้ป่วย RCU ห้องฉุกเฉิน หอผู้ป่วยต่างแผนกต่างๆ หอผู้ป่วยที่ให้การดูแล
การบริหารภาควิชาฯ ประชุมภาค ทีมบริหาร Undergrad Postgrad วันอังคารที่ 2 ของเดือน 15.00 -16.30 น. วันพฤหัสบดีที่ 1,3, ของเดือน 14.30-16.30น. วันพฤหัสบดีที่ 1,3,5ของเดือน 12.00-13.00 น. วันพฤหัสบดีที่ 1,3,ของเดือน 12.00-13.00น. กลุ่มวิจัย พชท./พจบ. หัวหน้าสาขา PCT/บริการ วันพฤหัสบดีที่ 4 ของเดือน 14.00-15.30น. วันพฤหัสบดีที่ 4 ของเดือน 15.00-16.30น. วันพฤหัสบดีที่ 2 ของเดือนคู่ 12.00-13.00น. วันศุกร์ที่ 1 ของเดือน 14.00-16.00น.
จุดเด่น มีความเข้มแข็งด้านการฝึกอบรมอายุรแพทย์ มีการดูแลแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านทุกระดับชั้นปีอย่างเป็นระบบ เช่น การจัดระบบอาจารย์ที่ปรึกษา การจัดระบบการวัดและประเมินผลการให้ความสำคัญกับการ Feedback จากแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน รวมทั้งมีการดูแลแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านที่มีปัญหา นอกจากนี้ยังเน้นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และการทำงานเป็นทีมระหว่าง แพทย์ใช้ทุน แพทย์ประจำบ้าน แพทย์ประจำบ้านต่อยอด/อาจารย์แพทย์ และบุคลากรสายสนับสนุน โดยการจัดโครงการกลุ่มสัมพันธ์และจริยธรรมสัญจร มีแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านที่มีคุณภาพ แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านสามารถสอบบอร์ดผ่าน 100%
จุดด้อย • งานบริการมีมากกว่าจำนวนแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านในทุกชั้นปี ทำให้แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านไม่มีเวลาหาความรู้ และอ่านหนังสือเพิ่มเติม • จำนวนการอยู่เวรปฏิบัติงานนอกเวลา มีจำนวนผู้ป่วยเฉลี่ยต่อคนในปริมาณมาก ไม่มีความละเอียดในการดูแลผู้ป่วย ดูผู้ป่วยไม่ทัน นำไปสู่การลาออก 3. งานหนักมากที่คลินิกอายุรกรรมผู้ป่วยนอก กรณีเป็นผู้รับ consult ในวันนั้น • ขาดการประชาสัมพันธ์ ชักชวน extern , แพทย์ใช้ทุนข้างนอก เพื่อมาสมัครแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านที่ภาควิชาฯ ทำให้ไม่ได้แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านตามศักยภาพ
ภารกิจด้านการเรียนการสอนภารกิจด้านการเรียนการสอน
หลักสูตรอายุรศาสตร์เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญหลักสูตรอายุรศาสตร์เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาอายุรศาสตร์ หลักสูตรอายุรศาสตร์ต่อยอด รายวิชาต่างๆ ในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง รายวิชาการสอนระดับหลังปริญญา
การดำเนินงาน (หลังปริญญา) • อาจารย์ที่ปรึกษาให้แก่ พชท./พจบ. รายบุคคล • ประชุมคณะกรรมการฝ่ายการศึกษาหลังปริญญาภาควิชาเดือนละ 2 ครั้ง • พิจารณาข้อสอบ,จัดสอบเลื่อนชั้นปี • ประชุม พชท./พจบ. เดือนละ 2 ครั้ง • ติดตามการประเมินผลการปฏิบัติงาน พชท./พจบ. หมุนเวียน หอผู้ป่วย/หน่วยวิชา เดือนละ 1 ครั้ง • ติดตามดูแล พชท./พจบ. ที่มีปัญหาและนำเสนอที่ประชุมระดับหลังปริญญาและที่ประชุมภาควิชา • การกำกับดูแลและตรวจประเมินการเขียนเวชระเบียนผู้ป่วยในเดือนละ 2 ครั้งผู้ป่วยนอก ปีละ 2 ครั้ง
การดำเนินงาน (หลังปริญญา) • จัดกิจกรรมการเรียนการสอน Academic lecture, emergency medicine , Intensive in internal medicine • โดยอาจารย์ภาควิชา/ต่างภาควิชา/ต่างสถาบัน • จัดกิจกรรม Morning report , interesting case, M&M ,Conf.หน่วยวิชา ,Ethic teaching • ประเมินผลโดยการสอบ MCQ, short assay, long case เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานผ่านหน่วยวิชา • จัดสอบ OSCE ปีละ 2 ครั้ง ซึ่งสอดคล้องกับการประเมินราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ฯ • เป็นอนุกรรมการคุมสอบราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
ทำนุบำรุงศิลปวัฒธรรม • กิจกรรมมุทิตาจิต • กิจกรรมเลี้ยงสังสรรค์งานปีใหม่ • รดน้ำดำหัวในวันสงกรานต์
ทำนุบำรุงศิลปวัฒธรรม • กิจกรรมเลี้ยงต้อนรับ – ส่ง พชท./พจบ. • กิจกรรมสัมพันธ์คณะแพทยศาสตร์ (กีฬาสี) • กิจกรรมเลี้ยงอำลาอาจารย์ • กิจกรรมทำบุญภาควิชาอายุรศาสตร์
ด้านวิจัย • มีการจัดตั้งหน่วยสนับสนุนงานวิจัย เพื่อช่วยผลักดันงานวิจัยของ • แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน ซึ่งมีหน้าที่หลักดังนี้ • 1.1 กระตุ้นและให้ความช่วยเหลือในการตั้งคำถามวิจัย (research • question) • 1.2 ติดตามและช่วยแก้ไขโครงการวิจัย (proposal) • 1.3 สนับสนุนด้านสถิติทั้งทางตรงและผ่านทางหน่วยระบาดวิทยา • 1.4 สนับสนุนและติดตามการเขียน Manuscript • 1.5 ติดตามและช่วยแก้ปัญหาในกระบวนการทำวิจัยทุกขั้นตอน
2. มีกิจกรรม Research Club เพื่อให้แพทย์ใช้ทุน/ประจำบ้าน ได้นำเสนอ proposal และ ผลงานวิจัยที่เสร็จสมบูรณ์ ตุลาคม – มกราคม เสนอ proposal มีนาคม – มิถุนายน เสนอผลงานวิจัย 3. มีแผนการปฏิบัติงานวิจัยของแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน เพื่อกำหนดกรอบเวลาในการทำงานวิจัย ทำให้แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน ทำงานวิจัยได้สำเร็จตามกรอบเวลาที่ได้กำหนดไว้
4. มีการส่งเสริมให้มีการนำเสนอผลงานวิจัยในงานประชุมต่างๆ เมษายน เสนอผลงานในรูปแบบ Oral presentation หรือ Poster Presentation ในงานประชุมวิชาการราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ แห่งประเทศไทย ทุกผลงาน สิงหาคม เสนอผลงานในรูปแบบ Oral presentation หรือ Poster Presentation ในงานประชุมวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ ทุกผลงาน 2
ด้านการเรียนการสอน • จัดให้มีการบริหารจัดการฝึกอบรมให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ • 1.1 จัดให้มีกรรมการ Postgrad • 1.2 มีคู่มือ ตารางการเรียนการสอน เป็นไปตามข้อกำหนด • ราชวิทยาลัยฯ • 1.3 จัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาสำหรับแพทย์แต่ละคน • 1.4 จัดกิจกรรม M&M, Interesting case, Dead case, • Ethic • 1.5 จัดสอน Intensive course พชท./พจบ.ใหม่ เพื่อปรับ • พื้นฐาน พฤษภาคม - สิงหาคม ของทุกปี
ด้านการเรียนการสอน • 1.6 มีกิจกรรม Academic Lecture เชิญอาจารย์ • จากภายในและภายนอกภาควิชาบรรยายให้ความรู้ และ • เพื่อจัดติวก่อนสอบบอร์ดราชวิทยาลัยฯ • 1.7 จัดติวเรื่องการใช้กล้องจุลทรรศน์, Lab จัดสอบ Long • case เพิ่มเติม ก่อนสอบบอร์ดราชวิทยาลัยฯ • 1.8 ประเมินผลโดยการสอบ MCQ, short assay,Long case • เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานผ่านสาขาวิชา • 1.9 สนับสนุนและส่งเสริมให้มี Elective ในต่างประเทศ • เพิ่มขึ้น