1 / 28

หลักคุณภาพชีวิต

หลักคุณภาพชีวิต. แกนหลักการบริหารทรัพยากรบุคคล. หลักสมรรถนะ (Competency). หลักคุณธรรม (Merit). หลักผลงาน (Performance ). คุณภาพชีวิตการทำงาน (Quality of worklife ). กระจายความรับผิดชอบในการบริหารทรัพยากรบุคคล. คุณภาพชีวิต. คุณภาพชีวิตการทำงาน. ความสมดุลระหว่างชีวิตกับ การทำงาน.

austin
Download Presentation

หลักคุณภาพชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักคุณภาพชีวิต

  2. แกนหลักการบริหารทรัพยากรบุคคลแกนหลักการบริหารทรัพยากรบุคคล หลักสมรรถนะ (Competency) หลักคุณธรรม (Merit) หลักผลงาน (Performance ) คุณภาพชีวิตการทำงาน (Quality of worklife ) กระจายความรับผิดชอบในการบริหารทรัพยากรบุคคล

  3. คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตการทำงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตกับ การทำงาน

  4. กรอบแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานกรอบแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงาน (Qaulity of Worklife Framework)

  5. ที่มา 1. สำนักงาน ก.พ. จัดทำโครงการศึกษาเพื่อพัฒนากรอบแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงาน (Quality of Worklife Framework) ของข้าราชการพลเรือน เพื่อเป็นแนวทางให้ส่วนราชการและจังหวัดนำไปปรับใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานที่เหมาะกับหน่วยงานของตนเอง เพื่อให้ข้าราชการได้ปฏิบัติงานอย่างมีความสุข

  6. ที่มา 2. พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 13 (8) สำนักงาน ก.พ. มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริม ประสานงาน เผยแพร่ ให้คำปรึกษาแนะนำ และดำเนินการเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการและการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตสำหรับบุคลากรภาครัฐ มาตรา 34 .. การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนต้องเป็นไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า โดยให้ข้าราชการปฏิบัติราชการอย่างมีคุณภาพ คุณธรรม และคุณภาพชีวิตที่ดี มาตรา 72 .. ส่วนราชการมีหน้าที่ดำเนินการเพื่อให้มีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญ เพื่อให้ข้าราชการพลเรือนสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ. กำหนด

  7. ตัวอย่าง การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการพลเรือน สวัสดิการ กำหนดมิติคุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน ในกรอบมาตรฐานความสำเร็จในการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) โครงการส่งเสริมการเจ้าหน้าที่สัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานในส่วนราชการ โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ฯลฯ การดำเนินการของสำนักงาน ก.พ. ที่ผ่านมา

  8. การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพชีวิตการทำงานการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพชีวิตการทำงาน ของข้าราชการพลเรือนในปัจจุบัน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตการทำงาน • ปัจจัยด้านการทำงาน • ภาระงาน • ลักษณะงาน • ผู้นำ • ความก้าวหน้าและความมั่นคง • ปัจจัยส่วนตัว • ความเป็นอยู่และครอบครัว • สุขภาพ • ปัจจัยทางเศรษฐกิจ • ค่าตอบแทน • สวัสดิการ • ปัจจัยทางสังคม • ความสัมพันธ์

  9. ผลการสำรวจ ข้าราชการ 1,00 คน กรุงเทพฯ และปริมณฑล เงินออม

  10. ไม่มี 19 มี 81

  11. 1.4 10.2 22.9 65.5

  12. องค์ประกอบคุณภาพชีวิตการทำงานองค์ประกอบคุณภาพชีวิตการทำงาน ระบบบริหารคุณภาพชีวิตการทำงาน ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ กิจกรรมตัวอย่าง

  13. องค์ประกอบคุณภาพชีวิตการทำงานองค์ประกอบคุณภาพชีวิตการทำงาน มิติด้านการทำงาน - ทางกายภาพ - การบริหารงาน - การบริหารคน - ข้อบังคับค่านิยมและ วัฒนธรรมองค์กร มิติด้านเศรษฐกิจ - ค่าตอบแทน และสวัสดิการ - ความเป็นอยู่ - การบริหารเงิน มุมมองผู้กระทำเอง มุมมองผู้รับ มุมมองผู้ให้ คุณภาพชีวิตการทำงาน • มิติด้านสังคม • - ความสัมพันธ์ • - กิจกรรมร่วมกัน • ความผูกพันกับ • องค์กร • - การสื่อสารภายใน องค์กร มิติด้านส่วนตัว - สุขภาพกาย - สุขภาพจิต - การพัฒนาทางจิตใจ - ความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน มุมมองการมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยน/แบ่งปัน

  14. ระบบบริหารคุณภาพชีวิตการทำงานระบบบริหารคุณภาพชีวิตการทำงาน ปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 7.ทบทวนโดยฝ่ายบริหาร 1. กำหนดนโยบายคุณภาพชีวิตการทำงาน 2. กำหนดคณะทำงานบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน 6.ดำเนินการปฏิบัติและติดตามผล 5.กำหนดวัตถุประสงค์เป้าหมายแผนงาน 3. ประเมินและสำรวจข้อมูลองค์กรเบื้องต้น 4.วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงาน จัดลำดับความสำคัญและเลือกปัจจัยที่มีผลกระทบสูง

  15. ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ องค์กรให้ความสำคัญ ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร นโยบายชัดเจน ต่อเนื่อง การมีส่วนร่วม

  16. กิจกรรมที่ควร ดำเนินการอย่างยิ่ง กิจกรรมทางเลือก กิจกรรมท้าทาย กิจกรรมที่ตอบสนองปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานร่วมกันในทุกส่วนราชการ กิจกรรมที่อาจเลือกดำเนินการ เมื่อมีความจำเป็นหรือมีความพร้อม กิจกรรมที่ยาก ต้องใช้ความรู้เทคนิคเฉพาะ หรือใช้ความพยายามเพื่อให้เกิดการยอมรับหรือใช้งบประมาณสูง รูปแบบกิจกรรมตัวอย่าง

  17. กิจกรรมที่ควรดำเนินการอย่างยิ่งกิจกรรมที่ควรดำเนินการอย่างยิ่ง • กิจกรรมเกี่ยวกับการบริหารจัดการเงิน เช่น การจัดทำบัญชีครัวเรือน การอบรมเกี่ยวกับการออม การลงทุน • การสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงาน • กิจกรรมเพื่อพัฒนาการทำงาน เช่น การให้ความรู้เรื่องการบริหาร เทคนิคการจัดลำดับความสำคัญของงาน • กิจกรรมการดูแลสุขภาพ เช่น การตรวจสุขภาพ การแข่งกีฬา • การเจ้าหน้าที่สัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร เช่น ข่าวรายวัน จุลสาร • กิจกรรมทางศาสนา เช่น กิจกรรมในวันสำคัญทางศาสนา การนั่งสมาธิ • ฯลฯ

  18. กิจกรรมทางเลือก • รายชื่อหน่วยงานให้บริการด้านต่างๆ เช่น บริการซ่อมแซมไฟฟ้า ประปา • การให้ทุนการศึกษาแก่ตัวข้าราชการ บุตร • กิจกรรมเพื่อการผ่อนคลายและสันทนาการ เช่น การวาดรูป ร้องเพลง งานปีใหม่ • สวัสดิการต่างๆ เช่น การขายของราคาถูก ศูนย์ออกกำลังกาย • ชมรมกิจกรรมต่างๆ เช่น ชมรมกีฬา ชมรมดนตรี ฃมรมวิชาการ • ฯลฯ

  19. กิจกรรมท้าทาย • สถานรับดูแลเด็กเล็กในที่ทำงาน • ค่ายเยาวชนระหว่างปิดเทอม • สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้ยอมรับความแตกต่าง สนับสนุนวัฒนธรรมการทำงานที่เห็นคุณค่าของครอบครัว • ให้มีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนการทำงาน • ร่วมกันสร้างที่ทำงานให้เป็นบ้าน • จัดให้มีการทำงานแบบยืดหยุ่น • สำรวจความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่เป็นระยะๆ • สร้างเครือข่ายคุณภาพชีวิต” • ฯลฯ

  20. คุณหรือเพื่อนมีอาการเหล่านี้ไหม?(งานไม่เปลี่ยน.....แต่เธอกลับเปลี่ยนไป)คุณหรือเพื่อนมีอาการเหล่านี้ไหม?(งานไม่เปลี่ยน.....แต่เธอกลับเปลี่ยนไป) คุณภาพงานไม่คงเส้นคงวา ทำงานลนๆ จับต้นชนปลายไม่ถูก เหนื่อยล้าแบบหาสาเหตุไม่ได้ ไม่มีสมาธิในการทำงาน ผิดพลาดจากความเลินเล่อบ่อยขึ้น ขาดงานโดยไม่บอกล่วงหน้า และอึกอักเมื่อถูกถามว่าทำไมขาดงาน โวยวาย รับไม่ได้ กับคำวิจารณ์ 24 WLB

  21. คุณหรือเพื่อนมีอาการเหล่านี้ไหม?(งานไม่เปลี่ยน.....แต่เธอกลับเปลี่ยนไป)คุณหรือเพื่อนมีอาการเหล่านี้ไหม?(งานไม่เปลี่ยน.....แต่เธอกลับเปลี่ยนไป) โต้เถียง ไม่ยอมลดราวาศอก โทษคนอื่น ขวัญกำลังใจต่ำ หนีหน้า หรือทำตัวออกห่าง ควบคุมอารมณ์ไม่ได้ มีพฤติกรรมก้าวร้าว เฉื่อยชา เนือยๆ 25 WLB

  22. คุณหรือเพื่อนมีอาการเหล่านี้ไหม?(งานไม่เปลี่ยน.....แต่เธอกลับเปลี่ยนไป)คุณหรือเพื่อนมีอาการเหล่านี้ไหม?(งานไม่เปลี่ยน.....แต่เธอกลับเปลี่ยนไป) ไม่สนใจคนรอบข้าง มีพฤติกรรมต่อต้าน ขัดแย้งกับผู้บังคับบัญชาบ่อย ๆ แสดงความกังวลใจตลอดเวลา พยามครอบงำเพื่อนร่วมงาน ไม่ดูแลรักษาอนามัยส่วนตัว เครียดจัด ควบคุมโทสะไม่ค่อยได้ 26 WLB

  23. ระวัง !!!!!!!!!!! นี่ อาจ เป็นสัญญาณ อาการขาดสมดุลระหว่างชีวิตกับงาน 27 WLB

  24. ขอบคุณ และ สวัสดี

More Related