1 / 48

การช่วยเหลือในภาวะที่ได้รับสารพิษ และแมลงสัตว์กัดต่อย

การช่วยเหลือในภาวะที่ได้รับสารพิษ และแมลงสัตว์กัดต่อย. อ . บัณฑิตา นฤมาณเดชะ bantita@sut.ac.th. วัตถุประสงค์ เมื่อเรียนจบแล้วนักศึกษาสามารถ. บอกความหมาย ชนิด และอันตรายของสารพิษ และแมลงสัตว์กัดต่อยได้ อธิบายขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ที่ได้รับสารพิษ และจากแมลงสัตว์กัดต่อย

austin-york
Download Presentation

การช่วยเหลือในภาวะที่ได้รับสารพิษ และแมลงสัตว์กัดต่อย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การช่วยเหลือในภาวะที่ได้รับสารพิษและแมลงสัตว์กัดต่อยการช่วยเหลือในภาวะที่ได้รับสารพิษและแมลงสัตว์กัดต่อย อ.บัณฑิตา นฤมาณเดชะ bantita@sut.ac.th

  2. วัตถุประสงค์ เมื่อเรียนจบแล้วนักศึกษาสามารถ • บอกความหมาย ชนิด และอันตรายของสารพิษ และแมลงสัตว์กัดต่อยได้ • อธิบายขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ที่ได้รับสารพิษ และจากแมลงสัตว์กัดต่อย • วิเคราะห์สถานการณ์และวางแผนการช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม

  3. สารพิษ(Poisons) • สารประกอบทางเคมีที่ร่างกายได้รับเข้าไป ทำให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย • แต่จะเป็นอันตรายมากหรือน้อยขึ้นกับระดับความเป็นพิษและระยะเวลาที่ได้รับสารพิษ • สารพิษจะไปยับยั้งการย่อย การดูดซึม ภายในร่างกาย ทำให้เกิดสภาวะผิดปกติ • มีอาการแพ้ เจ็บป่วยเป็นโรคต่างๆ หรืออาจถึงตายได้

  4. การได้รับสารพิษอาจเกิดจากการได้รับสารพิษอาจเกิดจาก • โดยไม่ตั้งใจ ไม่ทราบว่ากำลังได้รับสารพิษนั้นอยู่ • อุบัติเหตุขณะทำงานหรือปฏิบัติกิจกรรมประจำวัน • โดยตั้งใจ เช่นพยายามฆ่าตัวตาย

  5. ทางสารพิษเข้าสู่ร่างกายทางสารพิษเข้าสู่ร่างกาย • ทางปาก: ดื่ม กิน: อาหารเป็นพิษ ยานอนหลับ กรด ด่าง ยาเบื่อหนู เบื่อแมลง • ทางจมูก: หายใจ: แก๊สท่อไอเสีย เตาไฟ ควันไฟ แก๊สคลอรีน ยาฆ่าแมลง • ทางผิวหนัง: สัมผัส และฉีด: ยาฆ่าแมลง งูพิษ สุนัขบ้า เฮโรฮีน

  6. ลักษณะของสารพิษ • กลุ่มแก๊ส: คาร์บอนมอนอกไซด์ แก็สพิษ • กลุ่มระคายเคือง: สารปรอท สารตะกั่ว ฟอสฟอรัส เนื้อสัตว์ปนเชื้อโรค:คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย • กลุ่มกัดกร่อน: กรด ด่าง : เจ็บปวด ทำลายเนื้อเยื่อ • กลุ่มกดประสาท: ฝิ่น มอร์ฟีน : ตื่นเต้นชั่วคราว ซึม หายใจช้า อ่อนแรง • กลุ่มกระตุ้นประสาท: อะโทรปิน การบูร : ผิวหนังแห้ง ร้อนชีพจรเต้นเร็วแต่อ่อนแรง

  7. ชนิดของสารพิษ • สารเคมีสังเคราะห์ • สารพิษจากสัตว์ • สารพิษจากพืช

  8. สารเคมีสังเคราะห์ • ยาฆ่าแมลงได้แก่พาโรไธออนไบกอน ดีดีที • ยาปราบวัชพืช ได้แก่พาราควอตคาราฟอน • สารเคมีกำจัดเชื้อรา ได้แก่คอปเปอร์ซัลเฟตแอนทราโคลโลนาโคล • สารเคมีปราบสัตว์แทะได้แก่ซิงค์ฟอลไฟด์ วาฟาริน

  9. อันตรายจากสารเคมี • ปวดแสบ ปวดร้อน • ผิวหนังเปลี่ยนสี แดง ตุ่มน้ำ ลอก ผิวหนังลอกจากการทำงานสัมผัสกับสารเคมี

  10. สารพิษและอันตรายที่มีต่อร่างกายสารพิษและอันตรายที่มีต่อร่างกาย • แมงกานีส: รง.ถลุงแร่ เหมืองแร่ ถ่านไฟฉาย : กล้ามเนื้อไม่มีแรง ปอดบวม ปอดอักเสบ มีไข้ ไอบ่อย • สารตะกั่ว: ผลิตแบตเตอรี่ บัดกรีหลอมตะกั่ว : อ่อนเพลีย กล้ามเนื้ออ่อนแรง เบื่ออาหาร โลหิตจาง ซีด ปวดท้อง

  11. สารพิษและอันตรายที่มีต่อร่างกายสารพิษและอันตรายที่มีต่อร่างกาย • สารปรอท: รง.ปุ๋ย กระดาษ ไฟฟ้า : กล้ามเนื้อหมดแรง มือ-ขาสั่น เป็นแผลที่ปาก • คาร์บอนไดออกไซด์: การเผาไหม้เชื้อเพลิง ถ่านหิน : แน่นหายใจไม่สะดวก ขาดออกซิเจน หมดสติ

  12. สารพิษและอันตรายที่มีต่อร่างกายสารพิษและอันตรายที่มีต่อร่างกาย • โครเมี่ยม : ชุบโลหะโครเมี่ยม : มะเร็งปอด แผลในโพรงจมูก ผิวหนังเป็นแผล • ไซยาไนด์ : ชุบโลหะ พลาสติก : หมดสติรวดเร็ว ตาย • สารหนู: ปุ๋ย กลั่นน้ำมัน ทำแก้ว เหล็กกล้า : มะเร็งผิวหน้า ปอด ผื่นแดงผิวหนัง เลือดจาง

  13. การควบคุม ป้องกัน อันตราย • การควบคุมป้องกันระดับบุคคล • การควบคุมป้องกันในระดับโรงงานอุตสาหกรรม

  14. ระดับบุคคล อยู่โรงงาน…อย่าลืมเน้น……การป้องกัน…

  15. การเก็บทำลายขยะติดเชื้อ/สารพิษ

  16. ระดับโรงงานอุตสาหกรรมระดับโรงงานอุตสาหกรรม

  17. เป็นเกษตร…..ก็เน้น…… เหมือนกันจ้า

  18. สารพิษเข้าตา

  19. ยกศีรษะให้สูงขึ้น ให้น้ำไหลผ่านตา ช่วยเปิดเปลือกตา ล้างตาอย่างน้อย 15-20 นาที ปิดตาด้วยผ้าสะอาด ส่งโรงพยาบาล

  20. สารพิษสัมผัสผิวหนัง

  21. ถอดเสื้อผ้าที่เปื้อนสารพิษออก • รีบล้างทำความสะอาดร่างกาย • อย่าขัดถูผิวหนัง • เช็ดตัวผู้ป่วยให้แห้ง • ใช้ผ้าสะอาดคลุมผิวที่อักเสบ • ห้ามทาขี้ผึ้ง โรยยาอื่น ๆ • ส่งโรงพยาบาล

  22. กินสารพิษ

  23. การช่วยเหลือเมื่อกินสารพิษการช่วยเหลือเมื่อกินสารพิษ • ทำให้อาเจียน • ลดการดูดซึม

  24. วิธีทำให้อาเจียน • ใช้นิ้วชี้ล้วงกวาดลำคอลึกๆหรือดื่มน้ำอุ่นก่อนแล้วล้วงคอ • ใช้เกลือแกง 2 ช้อนชาผสมน้ำอุ่น 1 แก้ว • ใช้น้ำอุ่นละลายสบู่พอควร(ห้ามใช้ผงซักฟอก) ใช้ได้ผลดีกรณีสารปรอท • ขณะทำให้อาเจียน ให้ตะแคงหน้าป้องกันสำลัก

  25. ลดการดูดซึมสารพิษในทางเดินอาหาร • ผงถ่านแอคติเวเต้ดชาร์โคล ขนาดที่ใช้ 2 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำ 1/4 แก้ว • ไข่ขาวดิบ ขนาดที่ใช้ • เด็ก 4 ฟอง , ผู้ใหญ่ 8 ฟอง • ให้ดื่มน้ำหรือนม จะช่วยเจือจางแล้วยังช่วยเคลือบและป้องกันอันตรายต่อเยื่อบุทางเดินอาหาร

  26. ข้อห้ามทำให้อาเจียน • หมดสติ หรือไม่ค่อยรู้สึกตัว • กินสารพิษชนิดกัดเนื้อ เช่น กรด-ด่าง • กินสารพิษพวกน้ำมันปิโตรเลียม เช่น น้ำมันก๊าด น้ำมันเบนซิน • สุขภาพไม่ดี เช่น โรคหัวใจ หรือกำลังตั้งครรภ์

  27. สูดดมสารพิษ

  28. นำผู้ป่วยไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์ทันที • ผู้เข้าไปช่วยควรมีเครื่องป้องกันสารพิษ เช่น หรือหน้ากากกันสารพิษ • คลายเสื้อผ้าให้หลวม • ควบคุมอุณหภูมิร่างกายของผู้ป่วย ถ้าผู้ป่วยร้อน พยายามเช็ดตัว • ห้ามผู้ป่วยสูบบุหรี่หรือดื่มสุรา 3. ถ้าผิวหนังไหม้ให้ใช้ผ้าบาง ๆ ที่นุ่มและสะอาดคลุมทิ้งไว้ ห้ามทาขี้ผึ้ง โรยยาอื่นๆ

  29. สรุป

  30. กรณีฉุกเฉิน • ปฏิบัติตามขั้นตอนที่แนะนำโดยฉลาก • สติดี ดื่มนมหรือน้ำ (ร่างกายดูดซับสารพิษช้าลง) • อ่อนเพลีย ซึม สลบ ไม่รู้สึกตัวไม่ควรดื่ม • เรียก รถฉุกเฉิน 1669 พาไปพบแพทย์ พร้อมขวดสารพิษ • ไม่แน่ใจว่าเป็นสารพิษอะไร ไม่ควรทำให้อาเจียน • เปื้อนเสื้อผ้า ถอดออก ล้างให้มากที่สุด

  31. สารพิษจากสัตว์แมลงสัตว์กัดต่อยสารพิษจากสัตว์แมลงสัตว์กัดต่อย

  32. สัตว์พวกผึ้ง แตน ต่อ หมาร่า • เหล็กในอยู่ส่วนปลายลำตัว จะปล่อยน้ำพิษออกมา • ถ้ายังไม่ดึงเหล็กในออก กล้ามเนื้อจะหดตัวต่อไปอีก 2-3 นาที ทำให้เหล็กในฝังตัวลึกอีก และน้ำพิษจะถูกปล่อยเข้าไปเพิ่มมากขึ้น อาการแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ • อาการเฉพาะที่ได้แก่ ปวด บวม แดง ร้อน • พิษที่ไปตามกระแสโลหิตเช่น มีอาการคัน ลมพิษ หลอดเลือดบวม หายใจขัด

  33. ปฐมพยาบาล • ให้รีบเอาเหล็กในออก • ล้างบริเวณที่ถูกต่อยด้วยน้ำและสบู่ เช็ดให้แห้ง แล้วทาด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ • ถ้ามีอาการปวดมาก ก็ประคบด้วยความเย็น • ทาบริเวณที่ถูกต่อยด้วย antihistamine cream หรือแอมโมเนียหอม • ถ้าแพ้พิษจะมีอาการรุนแรงหายใจไม่ออก ความดันโลหิตต่ำลงและช็อค รีบไปพบแพทย์ทันที

  34. ตะขาบ แมงมุม แมงป่อง

  35. อาการ

  36. ปฐมพยาบาล • ทาแผลด้วย antihistamine cream หรือแอมโมเนียหอม • ใช้น้ำแข็งประคบเพื่อลดปวด • ถ้าปวด บวม คัน มาก ต้องรีบไปโรงพยาบาล

  37. สัตว์ทะเล

  38. อาการ

  39. ปฐมพยาบาล • ห้ามใช้นิ้วดึงออกหรือใช้วัตถุใดๆ ขูดออกเด็ดขาด • ใช้น้ำส้มสายชูซึ่งมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อนๆ (ร้อยละ 3-5) ราดไปที่แผล • ไม่ใช้น้ำร้อนประคบเพราะจะทำให้เส้นเลือดขยายตัวกระจายพิษง่ายขึ้น • ใช้ทรายหรือผักบุ้งทะเลถูเมือกออก • ล้างด้วยน้ำสบู่ • ทาด้วยแอมโมเนีย หรือเพรดนิโซโล • รีบนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน

  40. งูกัด

  41. อาการเกิด ขึ้นได้ 3 ทางคือ พิษต่อประสาท เช่น งูเห่า งูจงอาง : ทำให้ เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อ และที่สำคัญทำให้หยุดหายใจ พิษต่อโลหิต เช่น งูแมวเซา งูกะปะ และ งูเขียวหางไหม้ : ทำให้เลือดออกตามที่ต่างๆ เช่น ผิวหนัง ปัสสาวะเป็นเลือด อาเจียนเป็นเลือด เป็นต้น พิษต่อกล้ามเนื้อ เช่น งูทะเล : ทำอันตรายต่อเซลล์กล้ามเนื้อ ทำให้มีอาการปวดกล้ามเนื้อมาก กล้ามเนื้ออ่อนแรง

  42. การปฐมพยาบาล • ล้างแผลด้วยน้ำและสบู่ • บีบเลือดออกจากแผลให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ • ควรรัดเหนือ/ใต้บาดแผลประมาณ 3 นิ้วมือ • ใช้ผ้าสะอาดกดแผลโดยตรงเพื่อห้ามเลือด • พยายามเคลื่อนไหวร่างกายให้น้อยที่สุด • วางอวัยวะส่วนนั้นให้ต่ำหรือระดับเดียวกับหัวใจ • ให้ยาแก้ปวดได้ รีบพาไปโรงพยาบาล

  43. ข้อควรระวัง • อาการของพิษงูเกิดได้ตั้งแต่ 15-30 นาที หลังถูกกัด หรือ อาจนานถึง 9 ชม. จึงต้องเฝ้าสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง • การฉีดเซรุ่มแก้พิษงู ส่วนใหญ่ทำมาจากม้า ซึ่งอาจแพ้ได้ จึงควรฉีดต่อเมื่อมีอาการของพิษงูเท่านั้น • ไม่ควรใช้ปากดูดหรือเปิดปากแผลด้วยของมีคม • ห้ามใช้ยาที่มีฤทธิ์แอลกอฮอล์ ยาระงับประสาท ยานอนหลับ ยาดองเหล้า • ไม่ควรรัดบาดแผลให้แน่นมาก เพราะจะทำให้อวัยวะส่วนปลายขาดเลือดและเน่าตาย

  44. สรุปด้วยใบงาน

  45. จบแล้วค่ะ

More Related