1 / 17

เศรษฐศาสตร์กลางทะเลลึก อำนาจของภาษา ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ 2 5 พ.ค. 255 2

เศรษฐศาสตร์กลางทะเลลึก อำนาจของภาษา ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ 2 5 พ.ค. 255 2. “ เศรษฐศาสตร์กลางทะเลลึก” ของ อาจินต์ ปัญจพรรค์ 2490 เดิมชื่อ “ในทะเลมีเศรษฐศาสตร์” อิงอร ได้แนะนำให้เปลี่ยนชื่อเป็น “เศรษฐศาสตร์กลางทะเลลึก” ตีพิมพ์ในนิตยสาร พิมพ์ไทยวันจันทร์ 2492.

austin-york
Download Presentation

เศรษฐศาสตร์กลางทะเลลึก อำนาจของภาษา ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ 2 5 พ.ค. 255 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐศาสตร์กลางทะเลลึกอำนาจของภาษาชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์25พ.ค. 2552

  2. “เศรษฐศาสตร์กลางทะเลลึก” ของ อาจินต์ ปัญจพรรค์ 2490 เดิมชื่อ “ในทะเลมีเศรษฐศาสตร์” อิงอร ได้แนะนำให้เปลี่ยนชื่อเป็น “เศรษฐศาสตร์กลางทะเลลึก” ตีพิมพ์ในนิตยสารพิมพ์ไทยวันจันทร์2492

  3. * การแลกเปลี่ยนเชิงสัญลักษณ์ symbolic exchange* มูลค่าเชิงแลกเปลี่ยน exchange value* มูลค่าเชิงสัญญะ sign exchange value

  4. “ภาษาเป็นกระบวนการ ‘นิติบัญญัติ’ ชนิดหนึ่ง ที่เรามักมองไม่เห็นมิติแห่งอำนาจในภาษาเป็นเพราะเราไม่ตระหนักว่า ภาษาเป็นตัวบงการการจัดแบ่งประเภทสิ่งของต่างๆ ในโลก […] หาใช่เพียงการสื่อสารอย่างที่ใครๆ มักพูดกัน หากยังเป็นการมุ่งบังคับให้จำยอม . . . ภาษามีความเป็นฟาสซิสต์อยู่ในตัวมันเอง” โรล็องด์ บาร์ตส์ “ปฐมบทบรรยายวันเข้ารับตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านสัญวิทยาวรรณกรรมประจำวิทยาลัยแห่งฝรั่งเศส” แปลโดย นพพร ประชากุล

  5. ภาษา กับ ความจริง ภาษา ถ่ายทอด ความจริงภาษาเป็นเครื่องมือสื่อสาร ความจริงดำรงอยู่นอกเหนือภาษาภาษาสร้างความจริงภาษาเป็นคุกขังความคิดมนุษย์prison-house of language

  6. การเรียกสมาชิกในครอบครัวXY พี่ น้องBrother Sister

  7. ภาษากับอำนาจ1. นามนั้นสำคัญไฉน (what’s in the name)2. โวหารกับชีวิต (metaphors we live by)3. เรื่องเล่า และเรื่องเล่าแม่บท (narrative and metanarrative)

  8. นามนั้นสำคัญไฉน“นามนั้นสำคัญไฉน? ที่เราเรียกกุหลาบนั้นแม้เรียกว่าอย่างอื่นก็หอมรื่นอยู่เหมือนกัน”โรเมโอจูเลียต“One man's terrorist, another man’s freedom fighter.”

  9. White Noise (1984) ของ Don DeLilloA featherly plumeA black billowing cloudAirborne Toxic EventCloud of Deadly ChemicalsNyodene D (Derivative)

  10. 2546โรคไข้หวัดนรก ไข้หวัดนก H5N1ไข้หวัดมรณะ โรคSARSโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง2552โรคไข้หวัดเม็กซิโก โรคไข้หวัดหมู ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น 1

  11. การเมืองของการบัญญัติศัพท์economics“ทรัพยศาสตร์” พระยาสุริยานุวัตร (2454) ถูกแบนในสมัยร. 6“คหนิติศาสตร์” พระนราธิปประพันธ์พงศ์ ถอดคำแปลมาจากรากศัพท์เดิม oikos (house) nomos (custom, law)“เศรษฐี” (capitalist) “เศรษฐวิทยา” (political economy) บัญญัติโดยร. 6 เป็นที่มาของ “เศรษฐการ” และ “เศรษฐกิจ” เพราะพากันใช้ตามพระราชนิยม “โภคศาสตร์” “โภคกิจ” ท่านวรรณไวทยากร

  12. “Metaphors we live and die by”Illness as a metaphorFitness as a metaphorสามัคคีคือพลัง

  13. เรื่องเล่า และเรื่องเล่าแม่บทเรื่องเล่า ในฐานะเรื่องจริงชีวประวัติ ประวัติศาสตร์ รายงานข่าวเรื่องเล่า ในฐานะเรื่องแต่งนิทาน ตำนานพื้นบ้าน นวนิยาย

  14. หยุดทำร้ายประเทศไทย

  15. หนังสือพิมพ์ลงข่าวคืบหน้าเกี่ยวกับการอับปางของเรือเดินสมุทรลำนั้นว่า          “...ต่อมาในวันที่ห้า มีเรือบดลำเล็กลอยเข้ามาใกล้ฝั่ง ชาวประมงช่วยกันออกไปรับเข้ามา และได้พบว่ามีบุคคลสิ้นชีวิตแล้วสองศพอยู่ในเรือนั้น สันนิษฐานว่า คนหนึ่งเป็นพ่อค้าใหญ่ที่โดยสารไปในเรือเที่ยวนั้น เพราะมีนาฬิกา แหวน กระเป๋าธนบัตรใบใหญ่ มีนามบัตรและเอกสารต่างๆ อีกคนหนึ่งมีเพียงเสื้อยืดกับกางเกงติดกาย เข้าใจว่าคงเป็นคนรับใช้หรือกุ๊กประจำเรือ”

  16. “อำนาจมืดที่น่ากลัวอย่างแท้จริงนั้นอยู่รอบๆ และในตัวเราๆ ท่านๆ นี่ต่างหาก มันซึมซ่านอยู่อย่างสงบเสงี่ยมเงียบเชียบ ไม่กระโตกกระตาก ไม่มีหัวไม่มีหาง และมองไม่เห็นว่าใครเป็นผู้กระทำ ใครเป็นผู้ถูกกระทำ มันคืออำนาจของมายาคติทั้งหลายซึ่งประกอบกันเข้าเป็นโลกทัศน์ ชีวทัศน์ มนุษยทัศน์อันคุ้นชินของเรา โดยเราไม่เคยระแวงสงสัยเลยว่าการประทุษกรรมต่อชีวิต อาชญากรรมทางการเมือง ทางสติปัญญา ทางสุนทรียะจำนวนเท่าใดแล้วบ้างที่ได้ถูกกระทำขึ้นในนามของมัน”นพพร ประชากุล คำนำเสนอใน เชิงอรรถวัฒนธรรม

  17. ขอบคุณ

More Related