1 / 60

ประกันสังคม สร้างสรรค์ หลักประกันชีวิต

ประกันสังคม สร้างสรรค์ หลักประกันชีวิต. 2. ภารกิจหลัก. บริหารจัดการ 2 กองทุน. 1. กองทุนประกันสังคม. 2. กองทุนเงินทดแทน. 3. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง. 1. พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 (กองทุนประกันสังคม). 2. พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. 2537 (กองทุนเงินทดแทน). 4. หลักการประกันสังคม.

Download Presentation

ประกันสังคม สร้างสรรค์ หลักประกันชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประกันสังคม สร้างสรรค์ หลักประกันชีวิต

  2. 2 ภารกิจหลัก บริหารจัดการ 2 กองทุน • 1. กองทุนประกันสังคม 2. กองทุนเงินทดแทน

  3. 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1. พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 (กองทุนประกันสังคม) 2. พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. 2537 (กองทุนเงินทดแทน)

  4. 4 หลักการประกันสังคม 1. เฉลี่ยทุกข์ เฉลี่ยสุข 2. เฉพาะกลุ่มที่เป็นสมาชิก

  5. 5 หน้าที่หลักของสปส. 1. ขึ้นทะเบียนนายจ้าง/ลูกจ้าง 2. จัดเก็บเงินสมทบนายจ้าง/ลูกจ้าง 3. ให้สิทธิประโยชน์แก่ลูกจ้าง/ผู้ประกันตน

  6. 6 การให้ประโยชน์ทดแทน ตาม พ.ร.บ.ประกันสังคม คุ้มครองกรณีไม่เนื่องจากการทำงาน 1) ประสบอันตราย / เจ็บป่วย 2) คลอดบุตร 3) ทุพพลภาพ 4) ตาย 5) สงเคราะห์บุตร 6) ชราภาพ 7) ว่างงาน

  7. 7 ประเภทของผู้ประกันตน โดยบังคับ ผู้ประกันตน ม.33 ผู้ประกันตน ม.39 โดยสมัครใจ ผู้ประกันตน ม.40

  8. 8 อัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม (ผปต.ม.33) หน่วย : % กรณี อัตราสูงสุด ตามที่ ลจ/นจ ฝ่ายละ รัฐบาล กฎหมาย กำหนด เจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย 1.5 1.5 1.5 สงเคราะห์บุตร ชราภาพ 3 1 3 0.5 0.50 0.25 ว่างงาน 2.75 รวม 5 5

  9. 9 กองทุนประกันสังคม เงื่อนไข การเกิดสิทธิ จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 3 เดือนภายใน 15 เดือน ก่อนป่วย - ทุพพลภาพ กรณีเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 7 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนคลอด กรณีคลอดบุตร จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 1 เดือน ภายใน 6 เดือนก่อนตาย กรณีตาย กรณีสงเคราะห์บุตร จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 12 เดือน ภายใน 36 เดือนก่อนมีสิทธิ จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 6 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนว่างงาน กรณีว่างงาน

  10. 10 การบริการทางการแพทย์จากสถานพยาบาล กรณีประสบอันตราย / เจ็บป่วย 1. ได้รับบริการทางการแพทย์จนสิ้นสุดการรักษา โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ เมื่อเข้ารับการรักษา ในสถานพยาบาลที่ระบุในบัตรรับรองสิทธิการ รักษาพยาบาลหรือเครือข่ายของสถานพยาบาลนั้น 2. ได้รับการตรวจวินิจฉัยโรค/บำบัดทางการแพทย์ • ได้รับการกินอยู่ และการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล • สำหรับคนไข้ใน

  11. 11 โรคที่กำหนดให้ไม่อยู่ในความคุ้มครอง ในด้านบริการทางการแพทย์มี 15 โรค คือ 1. โรคจิต ยกเว้น กรณีเฉียบพลัน ซึ่งต้องทำการรักษาในทันทีและระยะเวลา ในการรักษาไม่เกิน 15 วัน 2. โรค หรือการประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการใช้สารเสพติด ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด 3. โรคเดียวกันที่ต้องใช้ระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลประเภทคนไข้ในเกิน 180 วัน ในหนึ่งปี 4. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ยกเว้น (ก) กรณีไตวายเฉียบพลัน ที่มีระยะเวลาการรักษาไม่เกินหกสิบวัน (ข) กรณีเจ็บป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ให้มีสิทธิได้รับการบำบัดทดแทนไต 5. การกระทำใด ๆ เพื่อความสวยงามโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์

  12. 12 โรคที่กำหนดให้ไม่อยู่ในความคุ้มครอง (ต่อ) 6. การรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง 7. การรักษาภาวะมีบุตรยาก 8. การตรวจชิ้นเนื้อ เพื่อการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ 9. การตรวจใด ๆ ที่เกินความจำเป็นในการรักษาโรคนั้น 10. การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้น การปลูกถ่ายไขกระดูก และการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะกระจกตา 12. การผสมเทียม 11. การเปลี่ยนเพศ 13. การบริการระหว่างรักษาตัวแบบฟักฟื้น 14. ทันตกรรม ยกเว้น ถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน และการใส่ฟันเทียมบางส่วนชนิดถอดได้ฐานอคริลิก ตามหลักเกณฑ์ฯ 15. แว่นตา

  13. 13 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฯ ฉบับใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน 2548 1. กรณีประสบอันตราย ไม่จำกัดจำนวนครั้ง ผู้ป่วยนอก ปีละไม่เกิน 2 ครั้ง ผู้ป่วยใน ปีละไม่เกิน 2 ครั้ง 2. กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน

  14. 14 กรณีประสบอันตราย / เจ็บป่วยฉุกเฉิน เข้ารักษารพ.รัฐบาล ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน สปส. รับผิดชอบ ค่ารักษา เท่าที่จ่ายจริงทั้งหมด • สปส. รับผิดชอบค่ารักษา • เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 72 ชม.แรก • - ค่าห้องค่าอาหารไม่เกิน 700 บาท/วัน

  15. 15 กรณีประสบอันตราย / เจ็บป่วยฉุกเฉิน เข้ารักษารพ. เอกชน ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน สปส. รับผิดชอบ ค่ารักษา ตามประกาศฯ กำหนด • สปส. รับผิดชอบค่ารักษา • ตามประกาศฯ กำหนด • กำหนดภายใน 72 ชม.แรก

  16. 16 ขั้นตอนปฏิบัติกรณีประสบอันตราย /เจ็บป่วยฉุกเฉิน ผู้ประกันตนเข้าร.พ.อื่นกรณีประสบอันตราย / เจ็บป่วยฉุกเฉิน จ่ายค่ารักษาไปก่อน รีบแจ้ง ร.พ.ที่ระบุในบัตรฯ นำใบเสร็จมาเบิก สปส.เขตพื้นที่/ จังหวัด ร.พ.ตามบัตรรับตัวไปรักษาต่อ รักษาต่อที่ ร.พ.เดิม ร.พ. ตามบัตรฯ รับผิดชอบ ค่ารักษาที่เกิดขึ้นหลังจากรับแจ้ง สปส. จ่ายค่ารักษาภายใน 72 ชม.แรก

  17. 17 กรณีเงินทดแทนการขาดรายได้ เงินทดแทนการขาดรายได้ 50% ของค่าจ้าง • ครั้งละไม่เกิน 90 วัน • ปีละไม่เกิน 180 วัน • โรคเรื้อรังไม่เกิน 365 วัน 30 วันแรกใช้สิทธิ พรบ.คุ้มครองแรงงาน (น/จ จ่าย) ส่วนที่เกินเบิกจาก สปส.

  18. โรคเรื้อรัง 4. โรคที่รักษาเกิน 180 วันติดต่อกันและในขณะเจ็บป่วย ผู้ป่วยไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ทั้งนี้โดยการ วินิจฉัยของคณะกรรมการการแพทย์ 18 1. โรคมะเร็ง 2. โรคเส้นเลือดในสมองผิดปกติเป็นเหตุให้อัมพาต 3. ไตวายเรื้อรัง 5. โรคเอดส์ 6. กระดูกหัก (มีภาวะแทรกซ้อน)

  19. กรณีถอนฟัน / อุดฟัน / ขูดหินปูนเบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 250 บาทต่อครั้ง และ ไม่เกิน 500 บาทต่อปี • กรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ฐานอคริลิก ภายในระยะเวลา 5 ปี • 1-5 ซี่ จ่ายเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 1,200 บาท • มากกว่า 5 ซี่ จ่ายเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 1,400 บาท • เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการเบิก • 1.ใบเสร็จรับเงิน 2.ใบรับรองแพทย์ • 3.สำเนาเวชระเบียนการรับบริการทันตกรรม ทันตกรรม

  20. 20 กรณีคลอดบุตร - สำรองจ่ายเงินไปก่อน(คลอด ณ สถานพยาบาลที่สะดวก) - เบิกค่าคลอดบุตรเหมาจ่ายกับ สปส. 12,000 บาท - ผู้ประกันตนหญิงได้รับเงินสงเคราะห์ 50% ของค่าจ้าง 90 วัน

  21. 21 กรณีสงเคราะห์บุตร - เป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 หรือมาตรา 39 - เงินสงเคราะห์บุตร 350 บาท/เดือน (*เริ่มจ่ายตั้งแต่ 1 พ.ย 2548) - บุตรแรกเกิด - 6 ปี - คราวละไม่เกิน 2 คน - เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย - ผู้ประกันตนตายหรือทุพพลภาพ ให้ผู้อุปการะเป็นผู้รับเงินต่อ จนบุตรอายุครบ 6 ปี (* กฎกระทรวง ณ 31 มี.ค 2549)

  22. 22 กรณีทุพพลภาพ - ค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน เดือนละ 2,000 บาท - อวัยวะเทียม/อุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค - ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ 40,000 บาท/ราย - เงินทดแทนฯ 50% ของค่าจ้างตลอดชีวิต - ตายได้รับค่าศพและเงินสงเคราะห์ฯ

  23. 23 กรณีตาย ค่าทำศพ 40,000 บาท จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 3 ปี ไม่ถึง 10 ปี ค่าจ้างเฉลี่ย 1 เดือนครึ่ง เงินสงเคราะห์ ให้ทายาท ดังนี้ จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ค่าจ้างเฉลี่ย 5 เดือน

  24. 24 กรณีชราภาพ บำเหน็จชราภาพ - อายุ 55 ปี และออกจากงาน - จ่ายเงินสมทบไม่ครบ180เดือน - ได้รับเงินคราวเดียว

  25. 25 ตัวอย่างการคำนวณเงินบำเหน็จชราภาพ • ค่าจ้าง = 10,000 • กรณีสงเคราะห์บุตรชราภาพ (3%) = 300 • ทำงาน 11 เดือน = 300 * 11 • = 3,300 • ทำงาน 80 เดือน =300 * 80 • = 24,000 (ผู้ประกันตน) • = 24,000 (นายจ้าง) • รวม = 48,000 ( + ดอกผล)

  26. 26 บำนาญชราภาพ สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ.. - จ่ายเงินสมทบ180 เดือน ได้รับเงินบำนาญฯ = ร้อยละ 20ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย - จ่ายเงินสมทบเกิน 180 เดือน ปรับเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อระยะ เวลาจ่ายเงินสมทบทุก 12 เดือน - อายุ 55 ปี และออกจากงาน - จ่ายเงินสมทบตั้งแต่180 เดือนขึ้นไป - ได้รับเงินรายเดือนตลอดชีวิต

  27. ตัวอย่าง 27 การคำนวณเงินบำนาญชราภาพ • ค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย = 15,000 60 = 15,000 x 20% = 3,000/เดือน จ่ายเงินสมทบเกิน 180 เดือน = 20%+1.5% (ทุกระยะเวลาที่ครบ 12 เดือน)

  28. กรณีว่างงาน 28 เงื่อนไขการเกิดสิทธิ 1. จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 6 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนการว่างงาน กับนายจ้างรายสุดท้าย 2. ไม่ใช่ผู้มีสิทธิรับประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ 3. เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 38(2) 4. มีระยะเวลาการว่างงานตั้งแต่ 8 วันขึ้นไป 5. ต้องขึ้นทะเบียนที่สำนักงานจัดหางานเขตพื้นที่/จังหวัด 6. มีความสามารถพร้อมที่จะทำงานที่เหมาะสมที่รัฐจัดให้ 7. ไม่ปฏิเสธการฝึกงาน 8. รายงานตัวต่อสำนักงานจัดหางานฯอย่างน้อยเดือนละครั้ง 9. ไม่ถูกเลิกจ้างเนื่องจากกระทำผิดต่อนายจ้าง

  29. 29 สิทธิประโยชน์กรณีว่างงาน 1. ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ระหว่างว่างงาน ดังนี้ เลิกจ้าง: 50% ของค่าจ้าง ไม่เกิน 180 วัน ลาออก: 30% ของค่าจ้าง ไม่เกิน 90 วัน 2. บริการจัดหางาน 3. พัฒนาฝีมือแรงงาน

  30. 30 บทสรุปสิ่งที่ผู้ประกันตนควรรู้ 1. ผู้ประกันตนต้องยื่นเรื่องขอรับประโยชน์ทดแทนภายใน 1 ปีนับแต่วันเกิดสิทธิและรับเงินภายใน 2 ปี นับแต่วันรับแจ้ง 2. เฉพาะกรณีว่างงานต้องขึ้นทะเบียนหางานที่สำนักงานจัดหางาน ภายใน 30 วันนับแต่วันว่างงานจึงจะได้รับสิทธิครบถ้วน 3. สิทธิของผู้ประกันตนภายหลังจากการออกจากงานจะได้รับ สิทธิในกรณีเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย ต่อไป อีก 6 เดือน 4. ผู้ประกันตนจะไม่ได้รับสิทธิหากเป็นการจงใจก่อให้เกิด หรือยินยอมให้บุคคลอื่นก่อให้เกิดขึ้น

  31. การอุทธรณ์ 31 ผู้ประกันตน หรือ ผู้มีสิทธิ ไม่พอใจคำสั่ง, คำวินิจฉัย มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการฯ ภายใน 30 วัน ผู้อุทธรณ์ ไม่พอใจคำวินิจฉัยของคณะกรรมการฯ มีสิทธินำคดีไปสู่ศาลแรงงาน ภายใน 30 วัน ผู้ประกันตน หรือ ผู้มีสิทธิ ยื่นอุทธรณ์ หรือ นำคดี ไปสู่ศาลไม่เป็นการทุเลาการปฏิบัติตามคำสั่ง, คำวินิจฉัย ของเจ้าหน้าที่ หรือ คณะกรรมการฯ

  32. 32 ผู้ประกันตนโดยสมัครใจตามมาตรา 39 • หลักฐานการสมัคร • แบบคำขอเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 (สปส.1-20) • บัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรอื่นที่มีรูปถ่าย ซึ่งทางราชการออกให้พร้อมสำเนา

  33. ผู้ประกันตนโดยสมัครใจตามมาตรา 39 คุณสมบัติของผู้สมัคร • เคยเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 และส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน • ต้องยื่นคำขอเป็นผู้ประกันตนโดยสมัครใจตามมาตรา 39 ภายใน 6 เดือนนับแต่วันสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง • ต้องไม่เป็นผู้รับประโยชน์ทดแทน กรณีทุพพลภาพจากกองทุนประกันสังคม

  34. 34 การสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 • ไม่ส่งเงินสมทบ 3 เดือน ติดต่อกัน (สิ้นสภาพตั้งแต่เดือนแรกทีไม่ส่งเงินสมทบ) • ลาออก • กลับเข้าเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 • ตาย • ภายในระยะเวลา 12 เดือน ส่งเงินสมทบไม่ครบ9 เดือน (กรณีลาออกหรือกลับเข้าทำงานและเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ให้ยื่นแบบแจ้งการสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 (สปส. 1-21)

  35. 35 อัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม (ผปต.ม.39) หน่วย : % ประเภทประโยชน์ ทดแทน อัตราที่ กำหนด จ่าย2ส่วน เจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย 1.5 3 สงเคราะห์บุตร ชราภาพ 3 6 - - ว่างงาน รวม 4.5 9

  36. 36 การชำระเงิน • ชำระเดือนละ 432 บาท ผ่านช่องทาง • ที่สำนักงานประกันสังคม • หักผ่านบัญชีธนาคารกรุงไทย • ที่เคาน์เตอร์ธนาคาร กรุงไทย กรุงศรีอยุธยา นครหลวงไทย

  37. 37 กองทุนเงินทดแทน (Workmen’s Compensation Fund)

  38. 38 การให้ประโยชน์ทดแทน ตาม พ.ร.บ.เงินทดแทน คุ้มครองกรณีเนื่องจากการทำงาน ประสบอันตราย เจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย หรือ สูญหาย อันเนื่องมาจากการทำงาน

  39. 39 วัตถุประสงค์ เพื่อให้ความคุ้มครองลูกจ้างที่เจ็บป่วย หรือ ประสบอันตราย ทุพพลภาพ สูญหาย หรือ ตาย อันเนื่องมาจากการทำงานให้แก่ นายจ้าง หรือป้องกันรักษาผลประโยชน์ให้นายจ้าง ประโยชน์ทดแทน ประกันสังคม

  40. 40 อัตราการนำส่งเงินสมทบ นายจ้างมีหน้าที่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเงินทดแทนเพียงฝ่ายเดียว ในอัตราร้อยละ 0.2 - 1.0 ของค่าจ้างต่อปี (ต้องไม่เกิน 240,000 บาทต่อคน ) ตามความเสี่ยงภัยของกิจการนายจ้าง ซึ่งกำหนดไว้ 2 ประเภท ดังนี้ 1. อัตราเงินสมทบหลัก (0.2 - 1.0%) 2. อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ (ลดลงไม่เกิน 80 % เพิ่มขึ้นไม่เกิน 150 %ของอัตราเงินสมทบหลัก)

  41. 41 สิทธิประโยชน์จากกองทุนเงินทดแทน ค่ารักษาพยาบาล 45,000 บาท ค่าทดแทน กรณีหยุดงาน กรณีสูญเสียอวัยวะ(สูญเสียบางส่วน ค่าทดแทนไม่เกิน 10 ปี) กรณีทุพพลภาพ(ค่าทดแทน 15 ปี) กรณีตาย(ค่าทดแทน 8 ปี) ค่าทำศพ (ค่าจัดการศพ 100 เท่าของค่าจ้างขั้นต่ำ) ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ ไม่เกิน 40,000 บาท โดยได้รับความคุ้มครอง ตั้งแต่วันแรกที่นายจ้างรับเป็นลูกจ้าง 1. 2. 3. 4.

  42. กฏกระทรวง พ.ศ. 2548 42 ค่ารักษาพยาบาลจ่ายเพิ่ม อีก 65,000 บาท รวมเป็น 110,000 บาท เงื่อนไขการได้รับสิทธิเพิ่ม 1. บาดเจ็บอย่างรุนแรงของอวัยวะภายในหลายส่วน และต้องได้รับการผ่าตัดแก้ไข 2. บาดเจ็บอย่างรุนแรงของกระดูกหลายแห่ง และต้องได้รับการผ่าตัดแก้ไข 3. บาดเจ็บอย่างรุนแรงที่ศีรษะและต้องได้รับการผ่าตัด เปิดกะโหลกศีรษะ

  43. 43 4. บาดเจ็บอย่างรุนแรงของกระดูกสันหลัง ไขสันหลัง หรือรากประสาท 5. ประสบภาวะที่ต้องผ่าตัดต่ออวัยวะที่ยุ่งยาก ซึ่งต้องใช้วิธีจุลศัลยกรรม 6. ประสบอันตรายจากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก สารเคมี หรือ ไฟฟ้า ถึงขั้นสูญเสียหนังแท้เกินกว่าร้อยละ 30 7. ประสบอันตรายอย่างรุนแรง และเรื้อรัง

  44. 44 ในกรณีที่ค่ารักษาพยาบาลเพิ่ม 65,000 บาทไม่เพียงพอ สามารถจ่ายเพิ่มได้อีกเมื่อรวมค่ารักษาทั้งหมดแล้วต้อง ไม่เกิน200,000 บาท โดยมีเงื่อนไข 1. มีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยข้อ 1-6 สองรายการขึ้นไป 2. การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยข้อ 1-6 จำเป็นต้องใช้เครื่อง ช่วยหายใจ หรือรักษาในห้อง ICU ตั้งแต่ 20 วันขึ้นไป 3. บาดเจ็บอย่างรุนแรงของระบบสมองหรือไขสันหลังที่ต้องรักษา 30 วันขึ้นไป 4. การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง จนเป็นผลให้อวัยวะสำคัญล้มเหลว

  45. 45 ในกรณีที่ค่ารักษาพยาบาลที่จ่าย 200,000 บาทไม่เพียงพอ ให้จ่ายค่ารักษาพยาบาลดังกล่าวเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่รวมทั้งสิ้นไม่เกิน300,000 บาท โดย ให้คณะกรรมการการแพทย์พิจารณา และ คณะกรรมการให้ความเห็นชอบ

  46. 46 ค่าทดแทน ได้รับ60%ของค่าจ้าง 1. ไม่สามารถทำงานติดต่อกันได้ เกิน 3 วัน แต่ไม่เกิน 1 ปี 2. สูญเสียอวัยวะบางส่วนหรือสูญเสียสมรรถภาพ ในการทำงาน แต่ไม่เกิน10ปี 3. ทุพพลภาพ ไม่เกิน 15ปี 4. ตายหรือสูญหาย จ่าย 8ปี

  47. 47 กำหนดระยะเวลาการจ่ายค่าทดแทน (กรณีลูกจ้างสูญเสียอวัยวะบางส่วน) มือขาดข้างหนึ่ง 108 เดือน นิ้วหัวแม่มือขาดระดับข้อปลายนิ้ว 22 เดือน นิ้วชี้หรือนิ้วกลางขาดระดับข้อโคลนนิ้ว 22 เดือน นิ้วชี้หรือนิ้วกลางขาดระดับข้อกลางนิ้ว 16 เดือน

  48. 48 ตัวอย่างการคำนวณเงินค่าทดแทน(กรณีลูกจ้างสูญเสียอวัยวะบางส่วน) • ค่าจ้าง 5,000 x 60% = 3,000 • แพทย์ให้พักรักษาตัว 2 เดือน = 2 x 3,000 = 6,000 • นิ้วหัวแม่มือขาดระดับข้อปลายนิ้ว = 22 เดือน • ค่าทดแทน = 22 x 3,000 = 66,000

  49. สาเหตุ เนื่องจากการทำงานให้นายจ้าง ค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทน 60% ของค่าจ้างรายเดือน ระยะเวลา 15 ปี(180 เดือน) 49 กรณีทุพพลภาพ ตัวอย่าง ค่าจ้างเดือนละ 10,000 ค่าทดแทน 60% = 6,000 บาท/เดือน = 6,000 x 180 = 1,080,000 (15 ปี)

  50. 50 กรณีถึงแก่ความตายหรือสูญหาย • สาเหตุ เนื่องจากการทำงานให้นายจ้าง • ค่าทำศพ เป็นเงิน 100 เท่า ของอัตราสูงสุดของค่าจ้างขั้นต่ำรายวัน • ค่าทดแทน 60% ของค่าจ้างรายเดือน ระยะเวลา 8 ปี (96 เดือน) ตัวอย่าง • ค่าจ้างเดือนละ 10,000 • ค่าทดแทน 60% = 6,000 บาท/เดือน = 6,000 x 96 = 576,000 (8 ปี)

More Related