1 / 91

โดย

นิติสัมพันธ์ ของเอกชน ตามกฎหมายเอกชน ที่มีลักษณะระหว่างประเทศ. โดย. รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร. วันอังคารที่ ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗. (๑). แนวคิดทั่วไป. นิติสัมพันธ์ ของเอกชน ตามกฎหมายเอกชน ที่มีลักษณะระหว่างประเทศ เป็นอย่างไร ?. ลักษณะทั่วไป. ธรรมชาติ.

audi
Download Presentation

โดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นิติสัมพันธ์ ของเอกชน ตามกฎหมายเอกชน ที่มีลักษณะระหว่างประเทศ โดย รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร วันอังคารที่ ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  2. (๑) แนวคิดทั่วไป พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  3. นิติสัมพันธ์ ของเอกชน ตามกฎหมายเอกชน ที่มีลักษณะระหว่างประเทศ เป็นอย่างไร ? ลักษณะทั่วไป ธรรมชาติ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  4. นิติสัมพันธ์ของเอกชน ตามกฎหมายเอกชน ที่มีลักษณะระหว่างประเทศ จะต้องมีข้อเท็จจริงครบองค์ประกอบ ๓ ประการ กล่าวคือ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  5. ข้อพิจารณาที่ ๑ นิติสัมพันธ์ ตามกฎหมาย เอกชน (เอกชน VS เอกชน) นิติสัมพันธ์ ของเอกชน ที่มีลักษณะ ระหว่างประเทศ นิติสัมพันธ์ ตามกฎหมาย มหาชน (รัฐ VS เอกชน) พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  6. นิติสัมพันธ์ ของเอกชน ที่มีลักษณะ ระหว่างประเทศ ข้อพิจารณาที่ ๒ ๒.นิติบุคคลตาม กฎหมายเอกชน ๑.บุคคลธรรมดา พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  7. นิติสัมพันธ์ ของเอกชน ที่มีลักษณะ ระหว่างประเทศ ข้อพิจารณา ที่ ๓ ๑.ฝ่ายในนิติสัมพันธ์มีสัญชาติของรัฐต่างประเทศ ๒.ฝ่ายในนิติสัมพันธ์มีภูมิลำเนาอยู่ในรัฐต่างประเทศ ๓.นิติสัมพันธ์เกิดในรัฐต่างประเทศ ๔.นิติสัมพันธ์มีผลในรัฐต่างประเทศ ๕. วัตถุแห่งนิติสัมพันธ์ตั้งอยู่ในรัฐต่างประเทศ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  8. (๒) การขัดกันแห่งกฎหมาย คืออะไร ? พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  9. การขัดกันแห่งกฎหมาย ก็คือ • สถานการณ์ที่ตกอยู่ภายใต้กฎหมายของรัฐมากกว่าหนึ่งรัฐขึ้นไป • ดังนั้น จึงเกิดการขัดกันแห่ง ๒ กฎหมายขึ้นไป • ซึ่งการขัดกันแห่งกฎหมายนั้นอาจจะเกิดขึ้นทั้งในทางรูปแบบและ/หรือเนื้อหา • การขัดกันแห่งกฎหมายจึงเป็นสถานการณ์อันเป็นผลมาจาก “นิติสัมพันธ์ที่มีลักษณะระหว่างประเทศ” พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  10. กรณี ศึกษา ที่ ๑ น.ส.แดง VS ร้านนำสิน พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  11. "นางสาวแดงซึ่งมีสัญชาติไทยและมีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย • ซื้อผ้าลูกไม้สวิสจาก • ร้านนำสินซึ่งเป็นหุ้นส่วนจำกัดที่มีสัญชาติไทยและมีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  12. เกิดการขัดกันแห่งกฎหมายเกิดการขัดกันแห่งกฎหมาย ในสัญญาซื้อขายนี้ไหม ? ไม่เกิด ในศาลไทย ในศาลลาว ฯลฯ เกิด เพราะเกิดองค์ประกอบต่างด้าว (ไทย) ในสายตาของศาลลาว พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  13. กรณี ศึกษา ที่ ๒ นายคำสวรรค์ VS บริษัท LT พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  14. นายคำสวรรค์คนสัญชาติลาวและภูมิลำเนาในประเทศลาว รับจ้างรัองเพลงให้กับ • บริษัท ลาวเอนเทอร์เทนเมนท์ จำกัด หรือ เรียกย่อๆ ว่า LT ซึ่งเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายลาว • สัญญาทำในประเทศลาว • ต่อมา มีข้อพาทระหว่างกัน LT ฟ้องนายคำสวรรค์ต่อศาลลาว พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  15. เกิดการขัดกันแห่งกฎหมายเกิดการขัดกันแห่งกฎหมาย ในสัญญาจ้างนี้ไหม ? ไม่เกิด ในศาลลาว ในศาลไทย ฯลฯ เกิด เพราะเกิดองค์ประกอบต่างด้าว (ลาว) ในสายตาของศาลไทย พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  16. กรณี ศึกษา ที่ ๓ บริษัท ลาดองแตลล์ VS ร้านนำสิน พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  17. ร้านนำสินสั่งซื้อผ้าลูกไม้สวิสจากบริษัทตามกฎหมายสวิสชื่อ "ลา ดองแตลล์" เพื่อเอามาจำหน่ายแก่ลูกค้าชาวไทย” • ดังนั้น จงพิจารณาธรรมชาติของนิติสัมพันธ์ระหว่างร้านนำสินและบริษัท ลา ดองแตลล์ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  18. เกิดการขัดกันแห่งกฎหมายเกิดการขัดกันแห่งกฎหมาย ในสัญญาซื้อขายนี้ไหม ? ในศาลไทย เกิด ในศาลสวิส ฯลฯ เกิด เพราะเกิดองค์ประกอบต่างด้าวหรือระหว่างประเทศ (ไทย VS สวิส) ในสายตาของศาลทุกศาลในโลก พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  19. เมื่อนิติสัมพันธ์มีลักษณะภายในเมื่อนิติสัมพันธ์มีลักษณะภายใน ดังนั้น ไม่ตกอยู่ภายใต้การขัดกันแห่งกฎหมาย หากคดีขึ้นสู่ศาลของ รัฐที่มีจุดเกาะเกี่ยวกับนิติสัมพันธ์ แต่ตกอยู่ภายใต้การขัดกันแห่งกฎหมาย หากคดีขึ้นสู่ศาลของ รัฐที่ไม่มีจุดเกาะเกี่ยวกับนิติสัมพันธ์ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  20. เมื่อนิติสัมพันธ์ มีลักษณะระหว่างประเทศ ดังนั้น ตกอยู่ภายใต้การขัดกันแห่งกฎหมาย แม้คดีขึ้นสู่ศาลของ รัฐที่มีจุดเกาะเกี่ยวกับนิติสัมพันธ์ และตกอยู่ภายใต้การขัดกันแห่งกฎหมาย ในกรณีที่คดีขึ้นสู่ศาลของ รัฐที่ไม่มีจุดเกาะเกี่ยวกับนิติสัมพันธ์ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  21. (๓) การจำแนกประเภทของ การขัดกันแห่งกฎหมาย พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  22. การเข้าเมือง การจำแนก ประเภท ของ การขัดกัน แห่ง กฎหมาย การอาศัยอยู่ การขัดกัน แห่ง กม.มหาชน การประกอบอาชีพ การถือครองทรัพย์สิน การก่อตั้งครอบครัว การขัดกัน แห่ง กม.เอกชน การเข้าร่วม ทางการเมือง การขอมีสัญชาติไทย การเข้าสู่ศาลภายในของรัฐ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  23. การขัดกันแห่ง กม.มหาชน การจำแนก ประเภท ของ การขัดกัน แห่ง กฎหมาย บุคคล หนี้ ทรัพย์สิน ครอบครัว การขัดกันแห่ง กม.เอกชน มรดก พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  24. (๔) กฎหมายระหว่างประเทศ ว่าด้วยการเลือกกฎหมาย เพื่อแก้การขัดกันแห่งกฎหมายเอกชน พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  25. สถานการณ์ที่เรียกว่า “การขัดกันแห่งกฎหมาย” ปัญหาการขัดกันแห่ง กฎหมายเอกชน ปัญหาการขัดกันแห่ง กฎหมายมหาชน กฎหมายขัดกันของรัฐที่มีการกล่าวอ้างการขัดกัน เว้นแต่จะกำหนดเป็นอย่างอื่น การแก้ปัญหาการขัดกันแห่งกฎหมาย พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  26. นิติสัมพันธ์ของเอกชนที่มีลักษณะระหว่างประเทศย่อมมีความเกี่ยวข้องกับหลายรัฐนิติสัมพันธ์ของเอกชนที่มีลักษณะระหว่างประเทศย่อมมีความเกี่ยวข้องกับหลายรัฐ • ดังนั้น นิติสัมพันธ์ดังกล่าวจึงตกอยู่ภายใต้การขัดกันแห่งอำนาจรัฐ • เมื่อเราต้องการเลือกกฎหมายมาบังคับใช้ต่อนิติสัมพันธ์นี้ เราจึงต้องเผชิญกับการขัดกันแห่งกฎหมายเอกชน พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  27. กฎหมาย ระหว่าง ประเทศ แผนกคดีบุคคล สนธิสัญญา จารีตประเพณี หลักกฎหมายทั่วไป กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายของรัฐที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับนิติสัมพันธ์ กฎหมายขัดกัน นิติสัมพันธ์ ตามกฎหมายเอกชน ของเอกชน ที่มีลักษณะ ระหว่างประเทศ กฎหมาย ภายในของรัฐ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  28. นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชนนิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน ที่มีลักษณะระหว่างประเทศ โดยหลักกฎหมายระหว่างประเทศ เป็นไปตามกฎหมายขัดกันของรัฐ ที่มีการกล่าวอ้างนิติสัมพันธ์ เว้นแต่จะมีการกำหนดเป็นอย่างอื่น พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  29. (๕) กฎหมายไทยว่าด้วย การเลือกกฎหมายเอกชน กฎหมายขัดกันไทย พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  30. กฎหมายขัดกันไทย พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  31. กลไกของ กฎหมายขัดกัน พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  32. ขั้นตอนที่ ๑ ของการใช้กฎหมายขัดกัน ถ้าเป็นนิติสัมพันธ์ของเอกชน ตามกฎหมายเอกชน ที่มีลักษณะระหว่างประเทศ หลัก ตกอยู่ภายใต้กลไกของ กฎหมายขัดกัน

  33. ข้อยกเว้นของการใช้กฎหมายขัดกันข้อยกเว้นของการใช้กฎหมายขัดกัน ๑.กฎหมายพึงบังคับใช้ทันที ๒.กฎหมายแพ่งสารบัญญัติพิเศษ ๓.อนุสัญญาระหว่างประเทศ ที่ผูกพันรัฐเจ้าของศาล • ๔.การที่คู่ความไม่กล่าวอ้างความเป็น • ระหว่างประเทศของนิติสัมพันธ์ของเอกชน

  34. ขั้นตอนที่ ๒ การให้ลักษณะข้อกฎหมายแก่ข้อเท็จจริง ๑.บุคคล ๒.หนี้ ๓.ทรัพย์ ๔.ครอบครัว ๕.มรดก

  35. ขั้นตอนที่ ๓ การทดสอบจุดเกาะเกี่ยว ๑.ขาดจุดเกาะเกี่ยวหรือไม่? ๒.จุดเกาะเกี่ยวขัดกันหรือไม่? ๓.จุดเกาะเกี่ยวถูกสร้างขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมายหรือไม่? ๔.จุดเกาะเกี่ยวเคลื่อนที่หรือไม่? ๕.มีการขัดกันของการตีความจุดเกาะเกี่ยว จุดเกาะเกี่ยว ที่แท้จริง กฎหมาย ที่มีผลต่อคดี ย้อนส่ง ?

  36. สังเกตนะคะ ความหมายของคำว่า “จุดเกาะเกี่ยว" (Connecting Point) ในกฎหมายขัดกัน คืออะไร ???? • >>>ข้อเท็จจริงที่ชี้ว่า ปัญหากฎหมายหนึ่งๆ มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับกฎหมายของประเทศใด • >>>>ข้อเท็จจริงที่ชี้ว่า กฎหมายของประเทศใดเป็นกฎหมายที่มีผลต่อปัญหากฎหมายหนึ่งๆ • >>>ข้อเท็จจริงที่ชี้ว่า ศาลของรัฐจะต้องนำกฎหมายของประเทศใดมาใช้ในการพิจารณาคดีในศาลของตนที่มีลักษณะระหว่างประเทศ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  37. เทคนิค ในการอุดช่องว่าง แห่งกฎหมาย พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  38. มาตรา๓แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ • เมื่อใดไม่มีบทบัญญัติในพระราชบัญญัตินี้ • หรือกฎหมายอื่นใดแห่งประเทศสยามที่จะยกมาปรับกับกรณีขัดกันแห่งกฎหมายได้ • ให้ใช้กฎเกณฑ์ทั่วไปแห่งกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  39. เทคนิค ในการรับ การย้อนส่งกลับ ของกฎหมาย ต่างประเทศ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  40. มาตรา๔แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ • ถ้าจะต้องใช้กฎหมายต่างประเทศบังคับ • และตามกฎหมายต่างประเทศนั้นกฎหมายที่จะใช้บังคับได้แก่กฎหมายแห่งประเทศสยาม • ให้ใช้กฎหมายภายในแห่งประเทศสยามบังคับ • มิใช่กฎเกณฑ์แห่งกฎหมายสยามว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  41. เทคนิค ในการแก้ การขัดกันแห่ง สัญชาติของ บุคคลธรรมดา พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  42. มาตรา๖วรรค ๑ แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ • ถ้าจะต้องใช้กฎหมายสัญชาติบังคับ • และบุคคลมีสัญชาติตั้งแต่สองสัญชาติขึ้นไปอันได้รับมาเป็นลำดับ • ให้ใช้กฎหมายสัญชาติที่บุคคลนั้นได้รับครั้งสุดท้ายบังคับ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  43. มาตรา๖วรรค ๒ แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ • ถ้าจะต้องใช้กฎหมายสัญชาติบังคับ • และบุคคลมีสัญชาติตั้งแต่สองสัญชาติขึ้นไปอันได้รับมาคราวเดียวกัน • ให้ใช้กฎหมายสัญชาติของประเทศซึ่งบุคคลนั้นมีภูมิลำเนาอยู่บังคับ • ถ้าบุคคลนั้นมีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศอื่นนอกจากประเทศซึ่งตนมีสัญชาติสังกัดอยู่ให้ใช้กฎหมายภูมิลำเนาในเวลายื่นฟ้องบังคับ • ถ้าภูมิลำเนาของบุคคลนั้นไม่ปรากฏ ให้ใช้กฎหมายของประเทศซึ่งบุคคลนั้นมีถิ่นที่อยู่บังคับ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  44. มาตรา๖วรรค ๓ แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ • ในกรณีใดๆที่มีการขัดกันในเรื่องสัญชาติของบุคคล • ถ้าสัญชาติหนึ่งสัญชาติใดซึ่งขัดกันนั้นเป็นสัญชาติไทย • กฎหมายสัญชาติซึ่งจะใช้บังคับได้แก่กฎหมายแห่งประเทศสยาม พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  45. มาตรา๖วรรค ๔ แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ • สำหรับบุคคลผู้ไร้สัญชาติ • ให้ใช้กฎหมายภูมิลำเนาของบุคคลนั้นบังคับ • ถ้าภูมิลำเนาของบุคคลนั้นไม่ปรากฏ • ให้ใช้กฎหมายของประเทศซึ่งบุคคลนั้นมีถิ่นที่อยู่บังคับ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  46. มาตรา๖วรรค ๕ แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ • ถ้าในการใช้กฎหมายสัญชาติบังคับจะต้องใช้กฎหมายท้องถิ่นกฎหมายเหล่าประชาคมหรือกฎหมายศาสนา • แล้วแต่กรณี • ก็ให้ใช้กฎหมายเช่นว่านั้นบังคับ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  47. เทคนิค ในการแก้ การขัดกันแห่ง สัญชาติของ นิติบุคคล พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  48. มาตรา๗ แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.๒๔๘๑ • ในกรณีที่มีการขัดกันในเรื่องสัญชาติของนิติบุคคล • สัญชาติของนิติบุคคลนั้น • ได้แก่สัญชาติแห่งประเทศซึ่งนิติบุคคลนั้นมีถิ่นที่สำนักงานแห่งใหญ่หรือที่ตั้งทำการแห่งใหญ่ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  49. ขั้นตอนที่ ๔ การปรับใช้กฎหมายที่มีผลต่อคดี ถ้าเป็นกฎหมายไทย ถ้าเป็นกฎหมายต่างประเทศ ศาลไทยใช้กฎหมายนี้ ตัดสินคดีได้เลย คู่ความต้องนำสืบ กฎหมายต่างประเทศ ตาม ม.๘ + ๕ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

  50. เทคนิค ในการพิสูจน์ กฎหมาย ต่างประเทศ พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร-นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน

More Related