370 likes | 957 Views
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี. ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. อบต. %. เทศบาล %. อบจ. %. อัตรากำลังของท้องถิ่นปีงบประมาณ 2553. 59372 คน รวมพนักงานจ้าง 126783คน. 44891 คน รวมพนักงานจ้าง 124076คน. 9806 คน รวมพนักงานจ้าง 17749คน. การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น. อบจ. ตำแหน่ง. เทศบาล.
E N D
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อบต. % เทศบาล % อบจ. % อัตรากำลังของท้องถิ่นปีงบประมาณ2553 59372 คน รวมพนักงานจ้าง 126783คน 44891 คน รวมพนักงานจ้าง 124076คน 9806 คน รวมพนักงานจ้าง 17749คน
การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น อบจ. ตำแหน่ง เทศบาล ระดับ แผนอัตรากำลัง เล็ก กลาง ใหญ่ หลักการ อบต. การดำเนินการ เล็ก กลาง ใหญ่
ก.กลาง กำหนดตำแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1.ตำแหน่งประเภททั่วไป 2.ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ (ระดับ 7ขึ้นไป) 3.ตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูงและระดับกลาง (ระดับ 6 ขึ้นไป)
ตำแหน่งในราชการส่วนท้องถิ่นตำแหน่งในราชการส่วนท้องถิ่น 1. ตำแหน่งประเภททั่วไป - ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานระดับต้น - ตำแหน่งซึ่งมีลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติโดยอาศัยความรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์เฉพาะตัว - ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ 2. ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ และเชี่ยวชาญเฉพาะ 3. ตำแหน่งประเภทบริหารระดับกลาง และระดับสูง
ตำแหน่งมี 3 ประเภท สายผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่ระดับ 1 - 7 ทั่วไป ตั้งแต่ระดับ 7 ขึ้นไป เป็นคุณวุฒิที่วุฒิอื่นทำแทนไม่ได้ กระทบต่อชีวิต ทรัพย์สินโดยตรง มีองค์กรกำกับวิชาชีพ วิชาชีพ วช ชช บริหาร ตั้งแต่ระดับ 6 เป็นสายงานนักบริหาร กลาง สูง
การจัดทำแผนอัตรากำลังการจัดทำแผนอัตรากำลัง • 1. วิเคราะห์ภารกิจ ในช่วง 3 ปี • 2. วิเคราะห์ความต้องการกำลังคน • 3. ประเมินกำลังคนที่มีอยู่ • 4. วิเคราะห์แผนพัฒนากำลังคน • 5. จัดโครงสร้างส่วนราชการ 5.1 แบ่งส่วนราชการตามประกาศกำหนดส่วนราชการ 5.2 กำหนดตำแหน่ง สายงานประจำส่วนราชการ /จำนวนต้องให้ ก.จังหวัดเห็นชอบ 5.3 เป็นสายงาน ที่มีมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 5.4 กำหนดแผนในระยะ 3 ปี โดยแสดงกรอบทั้งหมด และกำหนดตำแหน่งเพิ่มใหม่ เป็นรอบปีที่ 1 ปี 2 ปี 3
ขั้นตอนการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี อปท. • เมื่อครบรอบระยะเวลาการใช้แผนอัตรากำลัง 3 ปี แล้วให้ อปท.ดำเนินการจัดทำแผนอัตรากำลังของ อปท.เป็น ระยะเวลา 3 ปี ในรอบถัดไป แต่งตั้งคณะกรรมการ ประกอบด้วย นายก เป็นประธาน ปลัด และหน.ส่วนราชการ เป็นกรรมการและมีเลขานุการ 1 คน จัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ก.กลาง ยืนยัน ไม่เห็นชอบ ก.จังหวัด ปรับปรุงแผน ก.จังหวัด เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ประกาศใช้
แผนอัตรากำลัง 1. จัดทำร่างแผนตามหลักเกณฑ์ 2. ก.จังหวัดเห็นชอบ 3. ประกาศใช้แผน ความสมบูรณ์ ผลผูกพัน ต้องสรรหา ไม่สรรหา ควรยุบ ตั้งงบประมาณตาม อัตรากำลังที่กำหนด สรรหาได้เฉพาะตำแหน่งในแผน
การปรับปรุงแผนอัตรากำลัง 3 ปี กำหนดตำแหน่ง ขึ้นใหม่ ยุบเลิกตำแหน่ง เปลี่ยนแปลง ตำแหน่ง รองรับปริมาณงาน ว่างไม่จำเป็น ว่าง รองรับคุณภาพงาน 6 กรณี
การเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง 6 กรณี 1.การปรับปรุงตำแหน่ง เป็นการปรับปรุงสายงาน ของตำแหน่งในส่วนราชการ/งานเดิม เลขที่ตำแหน่งเดิม เช่น จนท.ธุรการ 1-3/4/5 เป็น จพง.ธุรการ 2-4/5/6ว 2.การปรับขยายระดับตำแหน่ง เป็นการปรับขยายระดับ ตำแหน่งในสางายเดิมส่วนราชการ/งานเดิม เลขที่ตำแหน่งเดิม เช่น การปรับ จนท.การเงินและบัญชี 1-3 เป็นระดับ 4 3.การปรับลดระดับตำแหน่ง การปรับลดระดับตำแหน่งในสายงานเดิม ในส่วนราชการ/งานเดิม เลขที่ตำแหน่งเดิม เพื่อรองรับการสรรหา คนเข้าสู่ตำแหน่ง เป็นต้น 4.การตัดโอนตำแหน่ง การตัดโอนตำแหน่งเดิมจากงานหนึ่งไป ไปไว้อีกงานหนึ่ง เช่น การตัดโอนนายช่างโยธา จากกองช่าง ไปไว้กองคลัง งานแผนที่ เป็นต้น 5.การเปลี่ยนแปลงเลขที่ตำแหน่ง การเปลี่ยนแปลงเลขที่ตำแหน่ง ของตำแหน่งเดิมในสายงานเดียวกัน เช่น เปลี่ยนเลขที่ตำแหน่ง บุคลากร 3-5 เลขที่ 01-5-002 เป็น 01-5-001 6.การปรับปรุงตัดโอนตำแหน่ง *จะปรับปรุงทั้งชื่อ สายงานเลขที่ ตำแหน่งก็ได้ เป็นการเกลี่ยตำแหน่งที่ว่าง จากงานหนึ่งไปอีกงานหนึ่ง (ส่วนราชการเดียวกันหรือไม่ก็ได้) เช่น นวช.สุขาภิบาล 3-5 กองสาธารณสุข ไปเป็น นวช.การคลัง 3-5 กองคลัง
การปรับปรุงตำแหน่ง • เหตุผลความจำเป็นด้านปริมาณงานคุณภาพงานเป็นสำคัญ • มิใช่เพื่อเหตุผลด้านตัวบุคคล • คำนึงถึงอัตราลูกจ้าง/พนักงานจ้าง • ความก้าวหน้าในสายงาน วัตถุประสงค์ ป้องกันภาวะคนล้นงาน งานล้นคน ความคุ้มค่า
การยุบเลิกและเปลี่ยนแปลงตำแหน่งการยุบเลิกและเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง การปรับปรุงตำแหน่ง สายงาน/นอกควบ/ตำแหน่งบริหาร การยุบเลิก กรณีไม่มีความจำเป็น เป็นตำแหน่งว่าง การปรับลดหรือขยายระดับตำแหน่ง รองรับการบรรจุ/แต่งตั้ง ตัดโอนตำแหน่ง ตัดโอนจากกอง/ฝ่าย ไปอีกแห่งหนึ่ง ก.จังหวัดเห็นชอบ ยกเว้นปรับลด/ขยาย ตำแหน่งปฏิบัติ เปลี่ยนแปลงเลขที่ตำแหน่ง ตำแหน่งเดิม/งานเดียวกัน การปรับปรุงและตัดโอน เกลี่ยตำแหน่งว่าง/ปรังปรุงชื่อ และเลขที่ตำแหน่ง
การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการและตำแหน่งตามประเภท อปท. อบจ. ส่วนราชการอื่นที่อาจกำหนดได้ ตามความจำเป็นก.ท.กำหนด 10 กอง เทศบาล ส่วนราชการอื่นที่อาจกำหนดได้ ตามความจำเป็นก.ท.กำหนด 13 กอง ส่วนราชการหลัก เล็ก กลาง ใหญ่ ส่วนราชการอื่น ที่จำเป็นต้องมี ก.กลาง.กำหนด อบต. ส่วนราชการอื่นที่อาจกำหนดได้ ตามความจำเป็นก.ท.กำหนด 10 กอง เล็ก กลาง ใหญ่
การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบจ. ส่วนราชการอื่น ส่วนราชการที่จำเป็นต้องมี - กองสาธารสุข - กองกิจการพานิชย์ - กองกิจการขนส่ง - กองส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม - กองพัฒนาชนบท - กองส่งเสริมคุณภาพชีวิต - กองป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย - กองทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม - กองพัสดุ และทรัพย์สิน (รวม 9 กอง) -สำนักปลัด อบจ. -กองกิจการสภา อบจ. -กองแผนและงบประมาณ -กองคลัง -กองช่าง -หน่วยตรวจสอบภายใน อบจ.
การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของเทศบาลการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของเทศบาล ส่วนราชการหลัก ส่วนราชการอื่น เทศบาล - กองส่งเสริมวัฒนธรรมฯ - กองเทคโนโลยีสารสนเทศ - กองนิติการ - กองวิเทศสัมพันธ์ - กองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - กองส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ - กองส่งเสริมกิจการขนส่ง - กองทรัพยากรธรรมชาติฯ - กองส่งเสริมกิจการพาณิชย์ - กองเทศกิจ - กองส่งเสริมการเกษตร - กองผังเมือง - กองทะเบียนราษฎรและบัตรฯ (รวม 13 กอง) สำนักปลัดเทศบาล กอง/สำนักการคลัง กอง/สำนักการช่าง เล็ก กลาง 20 ล้าน ใหญ่ 150 ล้าน เกณฑ์รายได้ เกณฑ์ชี้วัด ด้านบุคลากร ด้านเศรษฐกิจ สังคม ด้านประสิทธิภาพ ด้านธรรมาภิบาล กองหรือส่วนราชการ ที่จำเป็นต้องมี - กอง/สำนักการสาธารณสุขฯ - กอง/สำนักการศึกษา - กอง/สำนักวิชาการและแผนงาน - กอง/สำนักการประปา - กอง/สำนักการแพทย์ - กอง/สำนักการช่างสุขาภิบาล - กอง/สำนักสวัสดิการสังคม - หน่วยตรวจสอบภายในและแขวง
การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบต. อบต. ส่วนราชการหลัก ส่วนราชการอื่น เล็ก กลาง 6 ล้าน ใหญ่ 20 ล้าน • สำนักงานปลัด อบต. • กองหรือส่วนการคลัง • กองช่างหรือส่วนโยธา -กองสวัสดิการสังคม -กองส่งเสริมการเกษตร -กองการศึกษา ฯ -กองสาธารณสุขฯ -กองนิติการ -กองส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ -กองเทศกิจ -กองผังเมือง -กองกิจการพาณิชย์ -กองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (รวม 10 กอง) เกณฑ์รายได้ เกณฑ์ชี้วัด ด้านบุคลากร ด้านเศรษฐกิจ สังคม ด้านประสิทธิภาพ ด้านธรรมาภิบาล กองหรือส่วนราชการ ที่กำหนดตามความเหมาะสม - กองหรือส่วนส่งเสริมการเกษตร - กองหรือส่วนการศึกษาฯ - กองหรือส่วนสาธารณสุขฯ
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกำหนดโครงสร้างและการกำหนดตำแหน่งแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกำหนดโครงสร้างและการกำหนดตำแหน่ง
การกำหนดขนาดและจัดตั้งส่วนราชการการกำหนดขนาดและจัดตั้งส่วนราชการ
การกำหนดตำแหน่งตามกรอบโครงสร้างส่วนราชการของ เทศบาล ปลัดระดับ 8 : ต้องมีรายได้ 20 ล้านบาทขึ้นไป ผอ.กอง 8 : ต้องมีรายได้ 40 ล้านบาทขึ้นไป จะมีรองปลัดระดับ 8 ได้ เมื่อมีส่วนราชการระดับ 8
การกำหนดระดับตำแหน่งผู้บริหารใน อบต. ขนาด อบต. ระดับตำแหน่ง ปลัดระดับ 8 : รายได้ 20 ล้านบาทขึ้นไป ผอ.กอง 8 : ต้องมีรายได้ 40 ล้านบาทขึ้นไป มีรองปลัดระดับ 8 ได้ เมื่อมีส่วนราชการระดับ 8
การกำหนดตำแหน่งบริหาร อบต.ตามกรอบ
การขอจัดตั้งส่วนราชการการขอจัดตั้งส่วนราชการ
1. แนวทางการดำเนินการขอจัดตั้งส่วนราชการ หรือการปรับปรุงโครงสร้าง • การวิเคราะห์ภารกิจ (business analysis) • เหตุผลความจำเป็นในการขอจัดตั้ง • ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ • นโยบาย แผนงานสำคัญของรัฐบาลที่ส่วนราชการต้องรับผิดชอบ • ปริมาณงาน • ค่าใช้จ่าย • อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ • ร่างประกาศแบ่งส่วนราชการ • คำชี้แจงอื่นๆ (ถ้ามี)
ภารกิจของหน่วยงาน 1. เป็นงานที่จำเป็นต้องปฏิบัติอยู่หรือไม่ ยกเลิก ใช่ ไม่ใช่ 2. เป็นงานที่มีการปฏิบัติซ้ำซ้อนอยู่ที่ใดหรือไม่ ไม่ใช่ ใช่ ยกเลิก/รวม/โอนงาน 3. เป็นงานที่ถือเป็นหน้าที่หลักใช่หรือไม่ ไม่ใช่ ใช่ แปรรูป/จ้างเหมา 4. เป็นงานที่มอบ/กระจายอำนาจไปให้ส่วนราชการอื่น/ได้หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ โอนงาน 5. เป็นงานที่ดำเนินการโดยจัดตั้งเป็นองค์กรของรัฐรูปแบบอื่นได้หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ 6. เป็นงานที่จำเป็นต้องดำเนินการโดยรัฐทั้งหมดหรือไม่ จัดตั้งหน่วยงาน ใช่ คงภารกิจของส่วนราชการ 1. การวิเคราะห์ภารกิจ (business analysis)
2. เหตุผลความจำเป็นในการขอจัดตั้ง 2.1 เมื่อจัดตั้งขึ้นแล้วจะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นในด้านใด 2.2 เหตุผลที่แสดงว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารราชการสามารถแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องในการดำเนินงานที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และ/หรือสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างไร และประชาชนจะได้รับประโยชน์เพิ่มขึ้นอย่างไร 2.3 ชี้แจงสาเหตุที่ต้องขอปรับปรุงส่วนราชการ 2.3.1 หน้าที่ความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น หรือเปลี่ยนแปลงไป โดยชี้แจงรายละเอียด ว่ามีงานเพิ่มขึ้นอย่างไร หรือลักษณะงานเปลี่ยนแปลงไปประการใด 2.3.2 มีการเปลี่ยนแปลงระบบ หรือวิธีการทำงาน เฉพาะหน่วยงานหรือใน ภาพรวมของกรม 2.3.3 ปัญหาการดำเนินงาน หรือการบริหารงานของกรมอันเนื่องมาจากโครงสร้าง ส่วนราชการเดิมไม่เหมาะสม
3. ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ 3.1 ขอบเขตอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด 3.1.1 วัตถุประสงค์ 3.1.2 หน้าที่และความรับผิดชอบ 3.2 การแบ่งส่วนราชการ 3.2.1 ให้แสดงแผนภูมิการแบ่งส่วนราชการในปัจจุบัน 3.2.2 ให้แสดงการเปรียบเทียบการแบ่งส่วนราชการที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่ขอ ปรับปรุงใหม่ โดยให้จัดทำเป็นตารางเปรียบเทียบ ทั้งนี้ ให้ระบุด้วยว่ามี การปรับปรุงอย่างไร 3.3 หน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการ 3.3.1 ให้ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการในปัจจุบัน 3.3.2 สำหรับส่วนราชการที่ขอปรับปรุง ให้ชี้แจงหน้าที่และความรับผิดชอบของ ส่วนราชการที่ขอปรับปรุงเปรียบเทียบกับหน้าที่ความรับผิดชอบในปัจจุบัน
4. นโยบายแผนงานสำคัญของท้องถิ่นที่ส่วนราชการต้องรับผิดชอบ ให้แสดงถึงนโยบายและแผนงานสำคัญของท้องถิ่นและตามแผนพัฒนาจังหวัด อำเภอ โดยแสดงความเชื่อมโยงกับแผนระดับชาติ จังหวัด อำเภอ และท้องถิ่น
5. ปริมาณงาน ให้แสดงว่างานสำคัญๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันได้แก่งานอะไรบ้าง มีปริมาณงานมากน้อยเพียงใด โดยให้แสดงสถิติปริมาณงานย้อนหลัง 3 ปี สำหรับงานใหม่ให้แสดงว่าได้ลงมือทำอะไรไปบ้างแล้วอย่างไรหรือไม่ และให้แสดงประมาณการปริมาณงานล่วงหน้า 3 ปี ตามงานที่จะพึงมี หรือเป้าหมายของงานตามแผน
6. ค่าใช้จ่าย ให้แสดงรายละเอียดงบประมาณค่าใช้จ่ายในปัจจุบัน (ถ้ามี) และประมาณการค่าใช้จ่ายในปีงบประมาณถัดไป (3 ปีข้างหน้า) เฉพาะส่วนราชการที่ขอปรับปรุง โดยจำแนกรายละเอียดงบประมาณตามงบรายจ่าย ได้แก่ งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน และงบรายจ่ายอื่น
7. อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ 7.1 ให้สรุปกรอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน 7.2 ให้แสดงแผนภูมิอัตรากำลังเฉพาะกอง / สำนักที่เกี่ยวข้องกับการขอปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการ โดยให้แสดงถึงอัตรากำลังที่มีอยู่ในปัจจุบัน และอัตรากำลังที่ขอปรับปรุงใหม่
8. ร่างประกาศแบ่งส่วนราชการ ให้เสนอร่างประกาศแบ่งส่วนราชการ พร้อมเหตุผลในการปรับปรุงส่วนราชการ 9. คำชี้แจงอื่นๆ (ถ้ามี)
การจัดตั้งส่วนราชการหรือการปรับปรุงโครงสร้าง มี 4 ลักษณะ ดังนี้ 1. สำนัก/กอง 2. ยกฐานะของกองเป็นสำนัก/ฝ่ายเป็นกอง 3. ยุบรวมกองแล้วยกฐานะเป็นสำนัก 4. ปรับระบบงานภายใน