310 likes | 430 Views
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ. โดย ชุมพล จันทรสม ตำแหน่ง วิศวกรโยธา สังกัด กองอาคารและสถานที่ สำนักงานอธิการดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ. ภูมิลำเนา อำเภออำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี
E N D
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ โดย ชุมพล จันทรสม ตำแหน่ง วิศวกรโยธา สังกัด กองอาคารและสถานที่ สำนักงานอธิการดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ • ภูมิลำเนา อำเภออำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี • ปี 2516 ม.ศ. 5 โรงเรียนเบญจมะมหาราช จังหวัดอุบลราชธานี • ปี2521 วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธามหาวิทยาลัยขอนแก่น • ปี2526 บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการงานก่อสร้าง มสธ. • ปี2529 วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโครงสร้าง มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ การทำงาน ปี2522 ลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งวิศวกร กองอาคารและสถานที่ สำนักงานอธิการบดี ปี2523 ข้าราชการฯตำแหน่งวิศวกร ระดับ 3กองอาคารและสถานที่ สำนักงานอธิการบดี ปี2525 ตำแหน่งวิศวกร ระดับ 4 ปี2530 ตำแหน่งวิศวกร ระดับ 5 ปี2533 ตำแหน่งวิศวกร ระดับ 6 ปี2537 ตำแหน่งวิศวกร ระดับ 7 (ชำนาญการ) ตั้งแต่ 4 พ.ค. 2537
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ การทำงาน ปี2537 ตำแหน่งวิศวกร ระดับ 7 (ชำนาญการ) ตั้งแต่ 4 พ.ค. 2537 ปี2539 ตำแหน่งวิศวกร ระดับ 8 (ชำนาญการ) ปี2541 ตำแหน่งวิศวกรโยธา ระดับ 8 (ชำนาญการ) ปี2553 ตำแหน่งวิศวกรโยธา ระดับ ชำนาญการพิเศษ (21 ก.ย. 53) ปี2553 ตำแหน่งวิศวกรโยธา ระดับ เชี่ยวชาญ (28 ต.ค. 53)
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ ตำแหน่งชำนาญการ specialist (สเพช'ชะลิสทฺ) n. ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้ชำนาญการ, ผู้ชำนาญเฉพาะทาง, ผู้ชำนาญพิเศษ. ผู้ชำนาญการ คำแปลน. ผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง. (พจนานุกรม ไทย-ไทย อ.เปลื้อง ณ นคร) จะเป็นผู้ที่มีความรู้ ความชำนาญการในวิชาชีพได้อย่างไร ???
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ การเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการ การเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการมี 3 เงื่อนไข - ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง : วุฒิประกาศนีย บัตร 16 ปี, อนุปริญญา 12 ปี,ปริญญาตรี 9 ปี,ปริญญาโท 5 ปี, ปริญญาเอก 3 ปี (ของเดิม) - ขั้นเงินเดือนตามที่กำหนด - ผลงานตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ การประเมินเพื่อแต่งตั้ง การประเมินงานและผลงานจากองค์ประกอบ • - ปริมาณงานในหน้าที่ • - คุณภาพงานในหน้าที่ • - ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ หรือเชี่ยวชาญ หรือเชี่ยวชาญพิเศษ
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ/ผู้เชี่ยวชาญ งานอะไร ?? ที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ • - งานประจำ ? • - งานในหน้าที่ ?? • - งานที่เป็นปัญหา เป็นอุปสรรคในการทำงาน ?? • - เทคนิคและแนวทางแก้ไขปัญหา? การสรุปบทเรียน การสร้างสมประสบการณ์
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ การสร้างผลงานทางวิชาการ • เริ่มมีผลงานช่วงเรียนปริญญาโท: วิทยานิพนธ์ • -2528 การศึกษาปูนซีเมนต์ผสมขี้เถ้าแกลบและขี้เถ้าลอย. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต. • -2528 บทความในเอกสารการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 3 เทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาชนบท. • -2530 บทความตีพิมพ์ใน วิศวกรรมสาร เล่มที่ 2 ประจำปี 2530.
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ การสร้างผลงานทางวิชาการ • การสร้างผลงานภายหลังเรียนจบ เป็นปัญหาทั่วไปที่เกิดจาการปฏิบัติงาน • -การเป็นอาจารย์พิเศษสอนในสาขาวิศวกรรมโยธา • -เขียนคู่มือการปฏิบัติงานด้านการรายงานก่อสร้างและคู่มือการปฏิบัติงานจ้างก่อสร้าง • - เขียนคู่มือการตรวจงานก่อสร้างสำหรับผู้ควบคุมงาน • -การศึกษาคุณสมบัติคอนกรีตและเขียนบทความ • -การทำให้แบบสำหรับงานก่อสร้างเป็นผลงานทางวิชาการ
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ ผลงานที่ยื่นขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการ 7 (ปี 2537) มีจำนวน 5 รายการ ประกอบด้วย 1. หนังสือวิชาการ 1 เรื่อง • - ดินซีเมนต์ (SOIL CEMENT). กองอาคารและสถานที่ • มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2532. 74 หน้า. • 2. งานรวบรวม 2 เรื่อง • - แบบฟอร์มและการเขียนรายงานผลการก่อสร้างภายใน • มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2530. 34 หน้า. • - คู่มือสำหรับการปฏิบัติงานจ้างโครงการก่อสร้างภายใน • มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2533. 76 หน้า
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ 3. บทความ 3 เรื่อง • - รอยแตกร้าวในคอนกรีต ใน วิศวกรรมสาร ม.ข. ปีที่ 20 • ฉบับที่ 2(47-64), 2536. • - คู่มือสำหรับการตรวจงานก่อสร้าง : งานเหล็กเสริม • คอนกรีต.กองอาคารและสถานที่, 2531,5 หน้า, • - คู่มือสำหรับการตรวจงานก่อสร้าง : การตรวจสอบงาน • ก่อนเทคอนกรีต. กองอาคารและสถานที่, 2533, 7 หน้า.
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ • 4. งานวิศวกรคำนวณออกแบบ 5 เรื่อง • - โครงการก่อสร้างอาคารที่พักอาศัย 4 ชุด จำนวน 9 สัญญา • - โครงการก่อสร้างระบบประปา 1000 ลบ.ม. 1 สัญญา • - โครงการก่อสร้างอาคารสำนักงาน 2 สัญญา • - โครงการก่อสร้างถนนสายต่าง ๆ 4 สัญญา • - โครงการซ่อมแซมโครงสร้างอาคารที่วิบัติชำรุด 2 สัญญา • **การทำแบบโครงการก่อสร้างให้เป็นผลงานทางวิชาการ ทำได้อย่างไร ?
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ ผลการยื่นขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการ 7 1. ยื่นขอกำหนดตำแหน่ง เอกสารครบถ้วนวันที่ 4 พ.ค. 2537 2. แต่งตั้งตำแหน่งวิศวกรชำนาญการ 7 ปี 2538 (ย้อนหลัง)
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ การสร้างผลงานทางวิชาการ • ผลงานภายหลังได้รับการแต่งตั้งในระดับชำนาญการ 7-8 ภาระงานที่รับผิดชอบ • งานบริการ : ด้านการวางแผน, คำนวณออกแบบ, ควบคุมงาน, การตรวจสอบ, อำนวยการใช้ • งานบริหาร : หัวหน้างานก่อสร้าง, ผู้อำนวยการกอง • พัฒนาและปรับปรุงงาน : คู่มือปฏิบัติงานในตำแหน่งวิศวกรโยธา, วิศวกรรมโครงสร้าง, การคุมงานก่อสร้าง • การใช้วิชาชีพบริการต่อสังคม :-วิทยากรฝึกอบรมและให้ความรู้ทางวิชาชีพ, เขียนบทความวิชาชีพตีพิมพ์ในวารสาร
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ เคยยื่นผลงานขอกำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญครั้งที่ 1 (ปี 2543) เนื่องจาก • มหาวิทยาลัยแจ้งมติที่ประชุม อ.ก.ม.เกี่ยวกับการขอกำหนดกรอบและความจำเป็นให้มีตำแหน่งเชี่ยวชาญเพิ่มเติม หากวิเคราะห์ภารกิจหลักของหน่วยงานและหน้าที่ความรับผิดชอบแล้วหากเห็นว่าจำเป็นก็ให้ส่งเอกสารผลงานต่าง ๆ ประกอบการพิจารณา • แต่ไม่สามารถดำเนินการต่อไปได้ เนื่องจากไม่มีกรอบเชี่ยวชาญ
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ ผลงานทางวิชาการ และผลงานทางวิชาชีพที่สำคัญภายหลังตำแหน่งชำนาญการ 7-8 1. คู่มือการปฏิบัติงาน 9 รายการ • - คู่มือการปฏิบัติงานในตำแหน่งวิศวกรโยธาชำนาญการ 8 • - คู่มือสำหรับการปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมโครงสร้าง 3 เรื่อง • - คู่มือสำหรับการปฏิบัติงานควบคุมงานก่อสร้าง 5 เรื่องซีเมนต์ • 2. ผลงานวิจัย 11 เรื่อง • - เกี่ยวกับการบริหารจัดการสัญญาและสิ่งก่อสร้าง 7 เรื่อง • - เกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการเชิงพาณิชย์ 2 เรื่อง • - การตรวจสอบและดูแลอาคาร 2 เรื่อง
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ 3. ผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์ 4 รายการ • - การเกิดสนิมในเหล็กเสริมคอนกรีต. บทความเทคนิค ใน วิศวกรรมสาร มข. ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 (139-154) ก.ค.-ธ.ค. 2540. หน้า 137-152, 2540. • - การสำรวจความปลอดภัยในงานก่อสร้างภายใน มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ใน วารสารวิจัย มข. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2544 หน้า 68-74. • - การจัดการความปลอดภัยในงานก่อสร้าง. ในวารสาร ENGINEERING TODAY.ปีที่ 4 ฉบับที่ 40 เดือนเมษายน 2549, หน้าที่ 56-60. • - การเสริมฐานราก. ใน วารสารโยธาสาร (CIVIL ENGINEER MAGAZINE). ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 เดือนมีนาคม-เมษายน 2549, หน้าที่ 44-48.
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ 4. ผลการดำเนินงานทางวิชาชีพ 20 รายการ • - การให้บริการวิชาชีพ 6 รายการ • - การตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัยในการใช้อาคารและ • การตรวจอาคารที่วิบัติชำรุด 9 รายการ • - การออกแบบซ่อมแซมโครงสร้างอาคารที่วิบัติชำรุด 5 รายการ
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ ผลงานที่เสนอประกอบการพิจารณาแต่งตั้งตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 จำนวน 9 รายการ (2553) 1.คู่มือการปฏิบัติงาน 2 รายการ • ชุมพล จันทรสม. คู่มือการปฏิบัติงาน สำหรับตำแหน่งวิศวกรโยธา (ชำนาญการ) ระดับ 8. ประจำกองอาคารและสถานที่ สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2553. 86 หน้า. • ชุมพล จันทรสม. คู่มือผู้ควบคุมงานก่อสร้างสำหรับโครงการก่อสร้างในมหาวิทยาลัย ขอนแก่น. สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2547. 118 หน้า.
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ 2. ผลงานวิจัย 3 รายการ • ชุมพล จันทรสม และ กิตติมา จันทรสม. รายงานการวิจัย เรื่อง การสำรวจความปลอดภัยในงานก่อสร้างภายในมหาวิทยาลัย ขอนแก่น. สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2544.85 หน้า. • ชุมพล จันทรสม และ กิตติมา จันทรสม. รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาโครงการก่อสร้างในมหาวิทยาลัยขอนแก่น : กรณีศึกษา โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ที่บอกเลิกสัญญาก่อสร้าง. สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2549. 119 • ชุมพล จันทรสม. รายงานการศึกษา เรื่อง การศึกษาโครงการก่อสร้างในมหาวิทยาลัยขอนแก่น : กรณีศึกษา กระบวนการบอกเลิกสัญญาก่อสร้าง. สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2550. 66 หน้า.
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ 3. ผลงานตีพิมพ์ในวารสาร 4 รายการ • ชุมพล จันทรสม. การเกิดสนิมในเหล็กเสริมคอนกรีต. บทความเทคนิค ใน วิศวกรรมสาร มข.ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 (139-154) ก.ค.-ธ.ค. 2540. หน้า 137-152, 2540. • ชุมพล จันทรสม และ กิตติมา จันทรสม. การสำรวจความปลอด ภัยในงานก่อสร้างภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ใน วารสารวิจัย มข. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2544 หน้า 68-74 • ชุมพล จันทรสม. การจัดการความปลอดภัยในงานก่อสร้าง. ใน วารสาร ENGINEERING TODAY.ปีที่ 4 ฉบับที่ 40 เดือนเมษายน 2549, หน้าที่ 56-60. • ชุมพล จันทรสม. การเสริมฐานราก. ใน วารสารโยธาสาร (CIVIL ENGINEER MAGAZINE). ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 เดือนมีนาคม-เมษายน 2549, หน้าที่ 44-48.
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม • - ใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม • ระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ตั้งแต่ วันที่ • 11 ก.พ. 2530-ปัจจุบัน • - ใบอนุญาตเป็นผู้ตรวจสอบอาคารประเภทบุคคลธรรมดาตั้งแต่วันที่ 4 พ.ย. 2552-ปัจจุบัน
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ จะสร้างงานวิจัยสถาบันได้อย่างไร • - ปัญหาการปฏิบัติงานทางด้านวิศวกรรม (โยธา) • - เป็นกระบวนการศึกษาเพื่อคำตอบ • - การศึกษาเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ การรายงานปัญหาและอุปสรรคที่เกิดและแนวทางแก้ไขปัญหา • - ใช้กระบวนการศึกษาวิจัยในการหาคำตอบและการเขียนรายงาน
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ ผลงานเพื่อกำหนดตำแหน่งชำนาญการ (2537) • 2532-การเรียบเรียงเอกสารวิชาการ 1 เรื่อง • การสร้างคู่มือสำหรับการทำงานก่อสร้าง 2 เรื่อง • 2530-แบบฟอร์มและการเขียนรายงานก่อสร้าง • 2533-คู่มือการปฏิบัติการจ้างโครงการก่อสร้าง • 2536-บทความตีพิมพ์ในวารสาร : วิศวกรรมสาร มข. ปีที่20 ฉบับที่2(47-64) • (ม.ค.2538-ได้รับทราบผลการประเมินชำนาญการ)
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ ผลงานหลังได้ตำแหน่งชำนาญการ (2537-45) • การเรียบเรียงเอกสารวิชาการ 6 เรื่อง • 2538-การชำรุดของโครงสร้าง คสล. พฤติกรรม+สาเหตุ • 2538,2543-การวิเคราะห์โครงสร้าง 2 เรื่อง • 2540,2541,2544-คู่มือการทำงานก่อสร้าง 3 เรื่อง • 2541,2544-ผลงานวิจัย 2 เรื่อง (ได้รับทุนวิจัย 2 เรื่อง) • 2540,2544-บทความตีพิมพ์ในวารสาร 2 เรื่อง • 3540-วิศวกรรมสาร มข. ปีที่25 ฉบับที่2(139-154) • 2544-วารสารวิจัย มข. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.2554)
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ ผลงานหลังได้ตำแหน่งชำนาญการ (2546-50) • การเรียบเรียงเอกสารวิชาการ 2 เรื่อง • 2547-คู่มือผู้ควบคุมงานก่อสร้าง • 2549-เทคนิคการติดตามและควบคุมโครงการ • ผลงานวิจัย 6 เรื่อง (ได้รับทุนวิจัย - เรื่อง) • 2548-2550-วิจัยการดำเนินงานโครงการก่อสร้าง 5 เรื่อง • 2550-วิจัยการตรวจสอบอาคาร 1 เรื่อง • 2548,2549-บทความตีพิมพ์ในวารสาร 2 เรื่อง • 3548-บทความในเอกสารประชุมวิชาการโยธาแห่งชาติครั้งที่ 10 จำนวน 2 เรื่อง • 2549-วารสารโยธาสาร ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 (มี.ค.-เม.ย.49) • 2549-วาสาร ENGINEER TODAY ปีที่ 4 ฉบับที่ 40 (เม.ย.49)
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ ผลงานหลังได้ตำแหน่งชำนาญการ (2551-56) • การเรียบเรียงเอกสารวิชาการ 2 เรื่อง • 2553-การวิเคราะห์โครงสร้าง • 2553-คู่มือวิศวกรโยธาชำนาญการพิเศษ • ผลงานวิจัย 10 เรื่อง (ได้รับทุนวิจัย 5 เรื่อง) • 2552,2554-วิจัยการดำเนินงานโครงการก่อสร้าง 6 เรื่อง • 2553-วิจัยปัญหาชั้นดินและการทรุดตัวของอาคาร 1 เรื่อง • 2554-วิจัยการจัดการอาคารและเพื่อความปลอดภัยฯ • 2556-วิจัยเอกสารคุมงานและค่างาน 2 โครงการ • 2554-บทความจาก KM รวบรวมและตีพิมพ์ 1 เล่ม 9 เรื่อง
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ ผลงานหลังได้ตำแหน่งเชี่ยวชาญ (2553) • การเรียบเรียงเอกสารวิชาการ - เรื่อง • ผลงานวิจัย 8 เรื่อง (ได้รับทุนวิจัย 5 เรื่อง) • 2554-วิจัยการดำเนินงานโครงการก่อสร้าง 4 เรื่อง • 2553-วิจัยปัญหาชั้นดินและการทรุดตัวของอาคาร 1 เรื่อง • 2554-วิจัยการจัดการอาคารและเพื่อความปลอดภัยฯ • 2556-วิจัยเอกสารคุมงานและค่างาน 2 โครงการ • 2554-บทความจาก KM รวบรวมและตีพิมพ์ 1 เล่ม 9 เรื่อง
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ บทสรุปการสร้างผลงานวิชาชีพ • การสร้างองค์ความรู้ในวิชาชีพ และการสร้างประสบการณ์ • การเริ่มเขียนผลงาน : จากการสร้างคู่มือประกอบการทำงาน การกำหนดแนวทางและวิธีการปฏิบัติงาน • ปัญหาการปฏิบัติงาน : หรือการทำงานที่ต้องใช้ระยะเวลาดำเนินการค่อนข้างยาวนาน ให้จัดทำข้อสรุปบทเรียนเพื่อประกอบการทำงานในโครงการอื่นๆ • การฝึกฝนเขียนบทความวิชาการในเรื่องที่มีความเชี่ยวชาญหรือการยอมเป็นลูกมือเขียนบทความให้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญช่วยติชมแก้ไข
บอกเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้กว่าจะเป็นวิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ บทสรุปการสร้างผลงานวิชาชีพ • จากการเริ่มทดลองฝึกฝนไปเรื่อยๆ แล้วก็จะรู้ว่าการสร้างผลงานไม่ได้ยากเกินความสามารถของเรา • ของจงโชคดีครับ • ขอบคุณ