1 / 19

Introduction to php Professional Home Page : PHP

Introduction to php Professional Home Page : PHP. เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร. ความเป็นมา. PHP ย่อมาจาก Professional Home Page เริ่มสร้างขึ้นในกลางปี 1994 ผู้พัฒนาคือ นาย Rasmus Lerdorf ปัจจุบัน PHP มีการพัฒนามาเป็นรุ่นที่ 5

Download Presentation

Introduction to php Professional Home Page : PHP

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Introduction to phpProfessional Home Page :PHP เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร

  2. ความเป็นมา • PHP ย่อมาจาก Professional Home Page • เริ่มสร้างขึ้นในกลางปี 1994 • ผู้พัฒนาคือ นาย Rasmus Lerdorf • ปัจจุบัน PHP มีการพัฒนามาเป็นรุ่นที่ 5 • Version แรกเป็นที่รู้จักในชื่อว่า Personal Homepage Tools ในปี 1994 ถึงกลางปี1995 • Version ที่สองชื่อว่า PHP/FI ในกลางปี 1995 • Version 3 เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า PHP3 เริ่มในกลางปี 1997 • Version 4 Beta 2 ใช้ชื่อว่า Zend (Zend ย่อมาจาก Ze(ev) + (A)nd(I Gutmans)

  3. PHP คือ • เป็นภาษา Script สำหรับแสดงเว็บเพจอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในกลุ่ม Server Side Script เช่นเดียวกับ ASP • การทำงานจะแทรกอยู่ในเอกสาร HTML • สามารถ Compile ได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ UNIX, Windows NT, Windows 9x • ความสามารถในการทำงานสูง โดยเฉพาะกับการติดต่อกับ Database เช่น MySQL, mSQL, Sybase และ PostgreSQL เป็นต้น

  4. ความสามารถของ php • CGI • Database-enable web page • Database ที่รองรับ Adabas D InterBase Solid Dbase mSQL Sybase Empress MySQL Velocis FilePro Oracle Unix dbm Informix PostgreSQL

  5. Php ดีอย่างไร • Open source • No cost implementation – PHP เป็นของฟรี • Server sideทำงานฝั่ง Server • Crossable Platform run ได้ทั้ง Windows,Unix,Linux • HTML embedded • Simple language - ง่าย

  6. ข้อดีอื่นๆ • Efficiency ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพใช้ CPU น้อย • XML parsing ส่งผ่านไปยัง XML ได้ • Server side ประมวลผลด้าน Server แก้ Code ด้านเดียว • มี Database module • มี File I/O • มี Text processing • มี Image processing

  7. การทำงานของ php • ทำงานบน Server • ทำงานร่วมกับเอกสาร html • สามารถแทรกคำสั่ง PHP ได้ตามที่ต้องการลงในเอกสาร html • ทำงานในส่วนที่เป็นคำสั่งของ PHP ก่อน เมื่อมีการเรียกใช้เอกสารนั้น ๆ • แสดงผลออกทาง Web Browsers

  8. โครงสร้างภาษา PHP แบบที่ 1 XML style <?php คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <?php echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>

  9. โครงสร้างภาษา PHP • แบบที่ 2 SGML style <? คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <? echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>

  10. โครงสร้างภาษา PHP แบบที่ 3 Java Language style <script language=“php”> คำสั่งภาษา PHP </script> ตัวอย่าง <script language=“php”> echo “Hello ! World”; </script>

  11. โครงสร้างภาษา PHP • แบบที่ 4 ASP Style <% คำสั่งภาษา PHP %> ตัวอย่าง <% echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; %>

  12. โครงสร้างภาษา PHP • จากตัวอย่าง แบบที่เป็นที่นิยม คือ แบบที่ 1 • ผลที่ได้เมื่อผ่านการทำงานแล้วจะได้ผลดังนี้ Hello ! World ! I am PHP • ข้อสังเกต - รูปแบบคล้ายกับภาษา C และ Perl - ใช้เครื่องหมาย ( ; ) คั่นระหว่างคำสั่งแต่ละคำสั่ง • File ที่ได้ต้อง save เป็นนามสกุล php

  13. โครงสร้างภาษา PHP • Comments - เหมือนกับการ Comment ของภาษา C, C++ และ Unix • ตัวอย่าง <?php echo “Hello !”; // การ comment แบบ 1 บรรทัด /* แบบหลายบรรทัด ตั้งแต่ 2 บรรทัดขึ้นไป */ echo “World”; # การ comment แบบ shell-style ?>

  14. คำสั่งในภาษา PHP • เริ่ม..

  15. คำสั่ง echo • เป็นคำสั่งสำหรับแสดงผลลัพธ์ไปที่โปรแกรม browser • รูปแบบของคำสั่ง echo ข้อความ1 หรือตัวแปร1, ข้อความ2 หรือตัวแปร2, ข้อความ3 หรือตัวแปร3, … • ข้อความ ให้เขียนภายใต้เครื่องหมาย double quote (“ “) หรือ single quote (‘ ‘) • ตัวแปร ภาษา PHP จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ เสมอ คล้ายกับภาษา Perl

  16. echo ตัวอย่าง ให้ป้อน Code ต่อไปนี้โดยให้ save ชื่อ exam01.php <HTML> <HEAD> <TITLE>ทดสอบภาษา PHP</TITLE> <BODY> Hi , I’m a Html <br> <? echo “สวัสดี PHP”; echo "Hi, I'm a PHP script!"; ?> <BODY> </HTML>

  17. echo • ตัวอย่างที่ 2 ให้ทำการ save ชื่อ exam02.php <html> <head> <title><? Echo “ทดสอบ PHP”; ?> <title> </head> <body> <? echo “<table border=1 width=‘100%’ bgcolor=‘#F0F000’>”; echo “<tr><td align=‘center’> สวัสดี PHP ในตาราง</td></tr>”; echo “</table>”; ?> </body> </html>

  18. echo ตัวอย่าง exam03.php <HTML> <HEAD> <TITLE>วันที่และเวลาปัจจุบัน</TITLE> </HEAD> <body> <? echo “ขณะนี้คือเวลา “; echo date(“H:i:s”); // แสดง ชั่วโมง:นาที:วินาที echo “ ของวันที่ “; echo date(“J F Y”); //แสดงวัน เดือน ปี ?> </body> </HTML>

  19. print • ฝาแฝดของคำสั่ง echo ให้บันทึก exam04.php <HTML> <HEAD> <TITLE> print วันที่</TITLE> </HEAD> <body> <? print “ วันนี้วันที่ “; print date(“l F d Y”); ?> </body> </HTML>

More Related