1 / 47

แนวคำบรรยาย เรื่อง “ กระบวนทัศน์ของข้าราชการในยุคปฏิรูประบบราชการ ” โดย นายนพดล เฮงเจริญ

แนวคำบรรยาย เรื่อง “ กระบวนทัศน์ของข้าราชการในยุคปฏิรูประบบราชการ ” โดย นายนพดล เฮงเจริญ. กระบวนทัศน์ (paradigm) - กระบวน = แบบแผน วิธีการ - ทัศน์ = ความคิด ความเห็น

Download Presentation

แนวคำบรรยาย เรื่อง “ กระบวนทัศน์ของข้าราชการในยุคปฏิรูประบบราชการ ” โดย นายนพดล เฮงเจริญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคำบรรยาย เรื่อง “ กระบวนทัศน์ของข้าราชการในยุคปฏิรูประบบราชการ” โดย นายนพดล เฮงเจริญ

  2. กระบวนทัศน์ (paradigm) - กระบวน = แบบแผนวิธีการ - ทัศน์ = ความคิดความเห็น - กระบวนทัศน์ = กรอบความคิด/ แบบแผนการคิด และ การปฏิบัติ

  3. ค่านิยมในสังคม • ค่านิยมที่นับถือคนมีอำนาจและร่ำรวย (ผู้ใหญ่อวยพรเด็กขอให้เป็นเจ้าคนนายคน ขอให้ร่ำรวย ทำให้มองความสำเร็จของชีวิตผิดพลาด) • ค่านิยมที่รักพวกพ้อง (ไม่ฆ่าน้อง ไม่ฟ้องนาย ไม่ขายเพื่อน) • ค่านิยมที่นิ่งเฉย รักสงบ (พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง)

  4. ทัศนคติเชิงลบของสังคมทัศนคติเชิงลบของสังคม • ใครๆ ก็ทำผิดกฎหมาย ทำผิดไม่ถูกจับได้ถือว่าเก่ง มีความสามารถ • รวยเสียอย่างจะทำอะไรก็ได้ • จะเอาตัวไม่รอดถ้ามัวแต่ซื่อสัตย์ • ซื่อเกินไปก็ถูกคนอื่นเอาเปรียบ • คำพังเพยที่ว่า “ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน” เป็นเรื่องล้าสมัย • ใครๆ ก็โกงกันทั้งนั้น การทุจริตคอร์รับชั่นเป็นวัฒนธรรมที่ไม่อาจแก้ไขได้ในสังคม • คอร์รับชั่น เป็นเรื่อง “ผู้ให้” กับ “ผู้รับ” คนอื่นในสังคมไม่น่าจะได้รับความเสียหาย • การให้ค่าตอบแทน สินน้ำใจ น้ำร้อน น้ำชา ไม่ใช่เรื่องเสียหาย • โกงบ้าง แต่มีผลงาน และทำประโยชน์ให้สังคม ก็พอรับได้

  5. สังคมที่ถูกครอบงำ • เงิน • อำนาจ • สื่อ

  6. พื้นฐานทาง จิตวิญญาณ อุดมการณ์ ชีวิต กระบวนทัศน์ การประพฤติ การปฏิบัติ

  7. สภาพการณ์ โลกยุคโลกาภิวัตน์ เศรษฐกิจใร้พรหมแดนการแข่งขันในเวทีโลก สังคมเศรษฐกิจ เป็นยุคแห่งการเรียนรู้ กระแสสังคมประชาธิปไตยธรรมาภิบาล ใครเรียนรู้ไม่ทันโลก ก็จะมีปัญหา งานของรัฐมากขึ้น ยากซับซ้อนขึ้น รัฐต้องเล็กลง ลดคน ลดเงิน ลดอำนาจ ต้องเปิดให้มีส่วนร่วม ต้องโปร่งใส พร้อมถูกตรวจสอบ

  8. สถานการณ์การปฏิรูประบบราชการสถานการณ์การปฏิรูประบบราชการ

  9. ปัญหาภาครัฐ ปัญหาโครงสร้างและภารกิจ • โครงสร้างใหญ่โต ขาดความยืดหยุ่น ใช้อัตรากำลังมาก • ภารกิจเหลื่อมล้ำ ซ้ำซ้อน • ภาครัฐมีบทบาทมาก

  10. ปัญหาด้านระบบงาน • รวมอำนาจ ไม่กระจายอำนาจการตัดสินใจ • กฎหมาย ระเบียบ มีมาก ล้าสมัย • ขั้นตอนการปฏิบัติงานมาก • ยังไม่ได้มุ่งสู่การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

  11. ปัญหาด้านบุคลากร • ทัศนคติและความเข้าใจในความสำเร็จของชีวิตยังไม่ถูกต้อง • ขาดจิตสำนึกในการให้บริการ • ยังมีปัญหาความไม่สุจริตและซื่อตรง • ขาดความยุติธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ • ขาดความเข้าใจในความสำเร็จของงานที่มุ่งสู่ผลลัพธ์

  12. ลักษณะของราชการยุคใหม่ลักษณะของราชการยุคใหม่ 1.ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง - เปิดโอกาสให้มีการับฟังความคิดเห็น- มีส่วนร่วมจากประชาชนและกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ในฐานะ ผู้รับบริการ- กฎหมาย กฎ ระเบียบต่าง ๆ จะต้องทันสมัยดังนั้น ในแผนปฏิรูป ฯ จึงมีแผนการปฏิรูประบบกฎหมาย กฎ ระเบียบต่าง ๆ ของราชการรวมอยู่ด้วย

  13. ลักษณะของราชการยุคใหม่ลักษณะของราชการยุคใหม่ 2. มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ - ทำงานอย่างมีเหตุผล- ซื่อตรง- สามารถตอบคำถามได้- สามารถเปิดเผยข้อมูลให้เหตุผล และความกระจ่าง ต่อสาธารณชนได้ตลอดเวลาและทันที

  14. ลักษณะของราชการยุคใหม่ลักษณะของราชการยุคใหม่ 3. มีความรวดเร็ว คุณภาพสูง ประสิทธิภาพสูง สามารถวัดผลงานได้ - ทุกครั้งที่ทำงานจะต้องให้ถูกต้อง- มีประสิทธิภาพ- ใช้เงิน ใช้เวลา อย่างประหยัด- ทำงานด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ- การทำงานของราชการยุคใหม่จะต้องใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ เข้ามาเป็นเครื่องมือ

  15. ลักษณะของราชการยุคใหม่ลักษณะของราชการยุคใหม่ 4. การทำงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ - มีเป้าหมายที่วัดผลได้ในเชิงตัวเลข- สามารถแสดงผลได้ทันทีที่งานเสร็จ 5. ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นคนที่มีคุณภาพ- คนที่มีความรู้ความสามารถจริง ทำหน้าที่อย่างมีคุณภาพสูง ทำงานได้ด้วยตัวเอง- คิดเอง ดำเนินการเอง และรับผิดชอบในผลงานของตนเอง

  16. ลักษณะของราชการยุคใหม่ลักษณะของราชการยุคใหม่ 6. การทำงานแบบมีส่วนร่วม มีการทำงานเป็นทีม - สร้างผลงานร่วมกันแต่ไม่ใช่ลักษณะที่มุ่งตอบสนอง ผู้บังคับบัญชาเป็นหลัก- ต้องมีการประสานกันในแนวราบ- มีวัฒนธรรมในการทำงานแบบผนึกกำลัง ร่วมมือกันทำมีการ ประสานสัมพันธ์- ไม่ปิดกั้นข้อมูลระหว่างกัน ไม่มีระบบเจ้าขุนมูลนายแต่ทำงาน ร่วมกันโดยเคารพในความเป็นมนุษย์อย่างมีเหตุผล

  17. ลักษณะของราชการยุคใหม่ลักษณะของราชการยุคใหม่ 7. รัฐจะมีบทบาทหน้าที่เฉพาะในส่วนที่ตนเองจะต้องทำเท่านั้น - หน้าที่และบทบาทอะไรที่จะต้องทำและยังไม่ได้ทำ- หน้าที่และบทบาทอะไรที่เคยทำมาและไม่จำเป็นต้องทำอีกแล้ว- หน้าที่และบทบาทอะไรที่ต้องร่วมมือกันทำกับเอกชน ประชาชน และสังคม

  18. ลักษณะของราชการยุคใหม่ลักษณะของราชการยุคใหม่ 8. การจัดองค์กร- ต้องมีความกะทัดรัด คล่องตัว ปรับเปลี่ยนได้อย่างรวดเร็ว- เป็นการทำงานที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ- ทำงานแบบเครือข่าย- มีชั้นการบังคับบัญชา 3 - 4 ชั้น- สถานภาพของบุคคล จะขึ้นอยู่กับคุณภาพของงาน- องค์กรขนาดเล็ก มีคนไม่มาก แต่มีความสำคัญสูงก็เป็นได้- องค์กรในรูปแบบใหม่ จะต้องถูกสร้าง เพื่อให้มีเอกภาพในการทำงาน เพื่อจะได้หาผู้รับผิดชอบได้จริง- รูปแบบการทำงานในลักษณะคณะกรรมการจะหมดไป

  19. ลักษณะของราชการยุคใหม่ลักษณะของราชการยุคใหม่ 9. ระบบบริหารงานบุคคล- มีกลไกสร้างแรงจูงใจ มีการบริหารงานบุคคลที่หลากหลาย- มีวิธีการส่งเสริมข้าราชการให้พัฒนาตนเองและพัฒนาอาชีพอย่าง ต่อเนื่อง- ส่งเสริมให้คนดีคนเก่งอยู่ในราชการได้อย่างประสบความสำเร็จ- คนเลวคนโกงต้องอยู่ไม่ได้- “ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน” จะต้องใช้กับราชการได้- มีการจ่ายเงินเดือนหรือค่าตอบแทนที่เหมาะสม- ต้องได้รับการยอมรับจากสังคมโดยรวม

  20. ลักษณะของราชการยุคใหม่ลักษณะของราชการยุคใหม่ 10. ลักษณะของการทำงานที่ทันสมัย - มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเครื่องมือ เพื่อทำงานให้ สะดวก รวดเร็ว ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ - ภาพราชการจะเป็นภาพบุคคลที่กระตือรือร้น ทำงานอย่าง กระฉับกระเฉง- ข้าราชการจะมีความภูมิใจในงานที่ทำ

  21. ลักษณะของราชการยุคใหม่ลักษณะของราชการยุคใหม่ คิดเชิงสร้างสรรค์และเรียนรู้ต่อเนื่อง มีความสามารถในการทำงานเป็นทีม คิดเชิงธุรกิจและทำงานเชิงรุก มีจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐมีคุณภาพและมีลักษณะ สามารถสร้างเครือข่ายการทำงาน มีทักษะหลายด้าน ทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์วัดผลงานได้ชัดเจน ทำงานอย่างมืออาชีพและเป็นผู้ปฏิบัติที่ทรงความรู้ (knowledge worker) ทำงานด้วยความรับผิดชอบและโปร่งใส ** อ้างอิง ทัศนีย์ ธรรมสิทธิ์ ที่ปรึกษาระบบราชการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)

  22. ผลการพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมาผลการพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมา • การปรับโครงสร้าง • การปรับระบบงาน • การสร้างและพัฒนากำลังคนภาครัฐ

  23. การปรับปรุงพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนฉบับใหม่การปรับปรุงพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนฉบับใหม่

  24. ระบบราชการจากอดีตถึงปัจจุบันระบบราชการจากอดีตถึงปัจจุบัน บทบาทเดิม ข้าราชการทำงานเป็นแบบอย่างของจิตวิญญาณสาธารณะ เมื่อถึงยุคประชาธิปไตยเบ่งบาน ฝ่ายการเมืองมีที่มาจากประชาชน เป็นฝ่ายที่กำหนดนโยบายเพื่อสนองตอบความต้องการของประชาชน จึงทำให้ฝ่ายการเมืองเข้ามาแทรกแซงการทำงานของข้าราชการ ซึ่งข้าราชการต้องปรับตัวให้ดำรงความถูกต้องชอบธรรม ในขณะเดียวกันก็ต้องสนองตอบต่อนโยบายของรัฐบาลด้วย เพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้ง

  25. ศักดิ์ศรี ความมั่นคง (ดี / ไม่ดี) ถูกแทรกแซงทางการเมือง ความคาดหวังของสังคมและประชาชนต่อระบบราชการ • ระบบราชการจะสามารถคานอำนาจทางการเมืองได้

  26. ระบบราชการต้องเป็นตัวนำระบบราชการต้องเป็นตัวนำ ในการสร้างอุดมการณ์ของชาติ 1. รักษาชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ขจัดความเหลื่อมล้ำ 3. ค้ำจุนประชาธิปไตย 4. ธำรงไว้ซึ่งคุณธรรม จัดการระบบและความสามัคคี

  27. A ctive ขยัน ตั้งใจ ทำงานเชิงรุก M oral มีศีลธรรม คุณธรรม R elevant รู้ทันโลก ปรับตัวทันโลก ตรงกับสังคม ไม่ใช่ขวางโลก E fficient มุ่งเน้นประสิทธิภาพ A ccountability รับผิดชอบต่อผลงาน ต่อสังคม D emocracy มีส่วนร่วม โปร่งใส เสมอภาค Y ield มีผลงาน มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน กระบวนทัศน์ที่พึงประสงค์ I ntegrity ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี

  28. อุปสรรคต่อการปรับกระบวนทัศน์อุปสรรคต่อการปรับกระบวนทัศน์ • ระบบราชการมีความมั่นคงมากเกินไป • ค่านิยมเดิมๆ ของสังคมไทย สุภาษิต พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง ช้าๆ ได้พร้าเล่มงาม ปากเป็นเอก เลขเป็นโท หอกข้างแคร่

  29. การแก้ไข • ค่านิยมของสังคมต้องปรับเปลี่ยนโดยเริ่มจากครอบครัว • ผู้นำขององค์กรต้องเป็นผู้เริ่มปรับเปลี่ยน • ต้องออกแบบวัฒนธรรมขององค์กรใหม่ • ต้องแก้ไขหลายระดับ ทั้งรูปแบบที่หลากหลายและในหลายระดับไม่ใช่แบบ Blue Print • Road Map ที่ใช้ควรเป็นแบบ - empowering / โดยใช้วิธี learning by doing - enabling / การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ learning • ไม่ควรเน้นว่าเป็นบทบาท / หน้าที่ของใครต้องทำ แต่ต้องหาจุดคานถ่วงดุลอยู่ที่ไหน คืออะไร • เลือกจังหวัดและผู้นำในการตัดสินใจ • จัดระบบ Stand alone ให้ได้ว่าจุดใดไม่โยงกับใคร แต่หากก่อให้เกิดผลลบมากๆ ต้องกำจัดออกไป โดยใช้วิธีวิเคราะห์เครือข่าย (Network Analysis)

  30. สิ่งสำคัญที่ต้องปรับเปลี่ยนสิ่งสำคัญที่ต้องปรับเปลี่ยน GOOD GOVERNANCE อุดมการณ์ Ideology I AM READY CORPORATION GOVERNANCE SVM RBM ระเบียบสังคม Social Orders เทคโนโลยี Technology BPR ABC HRM พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีฯ ITM TQM

  31. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรมและค่านิยมของระบบราชการ เพื่อให้การดำเนินการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรมและค่านิยมของระบบราชการบรรลุเป้าประสงค์หลักที่กำหนดไว้ จึงกำหนดยุทธศาสตร์สำคัญ 3 ยุทธศาสตร์ดังนี้ 1. การสร้างรูปแบบกระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงให้ เกิดขึ้นในภาครัฐ 2. การเสนอแนะการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ 3. การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนเร่งรัดการปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์

  32. ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างรูปแบบกระบวนการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงให้เกิดขึ้นในภาครัฐ • เปลี่ยนกระบวนทัศน์ของข้าราชการ โดยวิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง (Action Learning) • พัฒนายุทธวิธี และ ประสานงานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบนำรูปแบบการสร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่ในกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักการเมือง • สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Champion) • สร้างตัวอย่างต้นแบบการปรับเปลี่ยนให้เห็นเป็นรูปธรรม (Pilot and Demonstration Case)

  33. ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสนอแนะการจัดสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ • ปรับปรุงกฎ ระเบียบ ให้เกื้อกูลต่อการทำงานเพื่อปลูกฝังกระบวนทัศน์ใหม่ • ส่งเสริมการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • สร้างระบบการให้รางวัล และลงโทษ (Carrot and Stick) เพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์

  34. ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามา มีส่วนเร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ • สร้างวาระแห่งชาติ โดยการดึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมให้รับรู้และมีบทบาทต่าง ๆ ในการกระตุ้น เร่งเร้า ให้การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ฯ เกิดขึ้นได้จริง • รณรงค์ เผยแพร่กระบวนทัศน์ใหม่ให้ประชาชนเข้าใจ เพื่อให้เป็นแนวทางในการตรวจสอบนักการเมืองและข้าราชการ • สร้างกลไกให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและติดตามงานปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ • ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเห็นความสำคัญของงานปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์อย่างต่อเนื่อง

  35. (กลยุทธ์ 9 – ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ให้สาธารณะทราบ) (กลยุทธ์ 9 –ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ให้สาธารณะทราบ) (กลยุทธ์ 5 – พัฒนาหลักสูตร ละลายพฤติกรรม) การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่เป็นวาระของประชาชน ประกาศเป็นนโยบาย การผลักดัน ตัวแบบ ผู้นำทางการเมือง (กลยุทธ์ 3 – สร้าง Champion) (กลยุทธ์ 1 – ทำเป็นวาระแห่งชาติ) กระบวนการเรียนรู้ (กลยุทธ์ 2 – พัฒนาต้นแบบการเปลี่ยนแปลง) องค์การ ผู้บริหาร ข้าราชการ ขององค์กร ประชาชน ภาพแสดงยุทธศาสตร์การนำ I AM READYไปสู่ผลสำเร็จกับยุทธศาสตร์การปรับกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม

  36. ผู้นำทางการเมือง (กลยุทธ์ 3 – สร้าง Champion) กระบวนการเรียนรู้ องค์การ ผู้บริหาร ข้าราชการ ขององค์กร (กลยุทธ์ 6 –พัฒนากฎ ระเบียบ เกื้อกูลปลูกฝังกระบวนทัศน์ใหม่) (กลยุทธ์ 4 – สร้างกระแสศักดิ์ศรีข้าราชการ) (กลยุทธ์ 7 – สร้าง Carrot & Stick สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง) กลไกการรับฟังจากประชาชน ประชาชน ร่วมประเมิน ร่วมสนับสนุน รางวัล ลงโทษ (กลยุทธ์ 8 – เร่งรัดการปรับเปลี่ยน ตรวจสอบกระบวนทัศน์ วิธีการทำงานของข้าราชการ) (กลยุทธ์ 9 – ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ให้สาธารณะทราบ) (กลยุทธ์ 9 – ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ให้สาธารณะทราบ)

  37. เมื่อได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ดังกล่าวแล้ว จะทำให้ข้าราชการยุคใหม่ที่ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี ขยัน ตั้งใจทำงาน มีศีลธรรม คุณธรรมรู้ทันโลก สามารถปรับตัวได้ทันโลก ทันสังคม มีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อผลงานและสังคม มีใจและการกระทำแบบมีส่วนร่วมเป็นประชาธิปไตย โปร่งใส และทำงานโดยมุ่งเน้นผลงาน หรือ “I AM READY” “I AM READY” Morality Integrity Relevancy Activeness Yield Efficiency Democracy Accountability

  38. ร่างตัวชี้วัดความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ที่พึงประสงค์

  39. ร่างตัวชี้วัดความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ที่พึงประสงค์

  40. ร่างตัวชี้วัดความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ที่พึงประสงค์

  41. ร่างตัวชี้วัดความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ที่พึงประสงค์

  42. ร่างตัวชี้วัดความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ที่พึงประสงค์

  43. ร่างตัวชี้วัดความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ที่พึงประสงค์

  44. ร่างตัวชี้วัดความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ที่พึงประสงค์

  45. ร่างตัวชี้วัดความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ที่พึงประสงค์

  46. เราพร้อมแล้วที่จะนำการเปลี่ยนแปลง ท่านพร้อมแล้วหรือยัง ...I AM READY…

  47. ข้อพิจารณาต่อยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรมและค่านิยมของระบบราชการ • ระบบราชการที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ประชาชนต้องการเห็น yield / ผลงาน หากราชการตั้งเป้าหมายแล้วไม่ได้ดำเนินการอย่างจริงจังจะไม่เกิดผล จึงควรมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เป็นรูปธรรม • ควรระมัดระวังเรื่องการนำ I AM READY มาเป็นสโลแกน เพราะอาจเป็นสูตรสำเร็จที่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการขับเคลื่อน เนื่องจากอาจทำให้ส่วนราชการเข้าใจผิดว่าในองค์กรมีความเป็น I AM READY แล้ว ขณะที่การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ฯ มีจุดมุ่งหมายสำคัญ คือ การบริหารงานที่เน้นผลงาน • ควรเปลี่ยนยุทธศาสตร์หลักจากการทำให้เป็นวะระแห่งชาติเป็นวาระของประชาชน • นำระบบการสร้างเครือข่ายพันธมิตรมาเป็นกรอบในการดำเนินงาน • การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ฯ เป็นภารกิจที่ต้องแทรกอยู่ในทุกภารกิจของทุก อ.ก.พ.ร. เนื่องจากไม่สามารถแยกออกมาผลักดันได้โดยลำพัง • ควรมีระบบกำจัดผู้ไม่สามารถปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ฯได้ให้ออกนอกระบบ • ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการประเมิน และให้รางวัล หน่วยงานราชการ

More Related