1 / 85

กระบวนการนิเทศการศึกษา

กระบวนการนิเทศการศึกษา. ละดา ดอนหงษา ศึกษานิเทศก์ เชี่ยวชาญ ผอ.กลุ่มนิเทศ ฯ สพป.หนองบัวลำภู เขต 1. ละดา ดอน หงษา ศึกษานิเทศก์ เชี่ยวชาญ ผอ.กลุ่มนิเทศ ฯ สพป. หนองบัวลำภู เขต 1. การศึกษา ปริญญาตรี เอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป ากวิทยาลัยครูอุดรธานี ปี 2522

asa
Download Presentation

กระบวนการนิเทศการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการนิเทศการศึกษากระบวนการนิเทศการศึกษา ละดา ดอนหงษา ศึกษานิเทศก์ เชี่ยวชาญ ผอ.กลุ่มนิเทศ ฯ สพป.หนองบัวลำภู เขต 1

  2. ละดา ดอนหงษา ศึกษานิเทศก์ เชี่ยวชาญ ผอ.กลุ่มนิเทศ ฯ สพป.หนองบัวลำภู เขต 1 การศึกษา ปริญญาตรี เอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป ากวิทยาลัยครูอุดรธานี ปี 2522 ปริญญาโท เอกวิทยาศาสตร์ศึกษา มศว. ประสานมิตร ปี 2530 กำลังศึกษา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ม.ราชภัฎอุดรธานี ปี 2552 - ปัจจุบัน การทำงาน ครู ปี พ.ศ. 2518 – ปี พ.ศ. 2525 ศึกษานิเทศก์ ปี พ.ศ. 2525 – ปัจจุบัน ( หัวหน้าหน่วย, หัวหน้ากลุ่ม, ผอ.กลุ่ม)

  3. ละดา ดอนหงษา ศึกษานิเทศก์ เชี่ยวชาญ ผอ.กลุ่มนิเทศ ฯ สพป.หนองบัวลำภู เขต 1 ผลงาน - ชุดอบรมครูเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง, ชุดอบรมครูแบบ บูรณาการ - ชุดพัฒนากิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ - คู่มือนิเทศ 100 % - รูปแบบการนิเทศเพื่อเตรียมพร้อมรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกจาก สมศ

  4. เพลงคุรุบุปผชาติ กล้วยไม้มีดอกช้า ฉันใด การศึกษาเป็นไป เช่นนั้น แต่ดอกออกคราวไร งามเด่น งานสั่งสอนปลูกปั้น เสร็จแล้ว แสนงาม (ซ้ำ)หยดน้ำที่พร่างพรม ดูดซับเข้ากิ่งใบ ทีละน้อยซึมเข้าไปเนิ่นช้าความรู้ก็เช่นกัน หมั่นทบทวนศึกษา ไม่เว้นว่างตำราเหมือนดั่งน้ำห่างน้ำก็แห้งกรัง แช่น้ำก็เน่าพัง กล้วยไม้จึงเปรียบดังคำสอนใจเมื่อถึงวันที่กล้วยไม้ออกดอก งดงามดั่งดวงตะวันหยดน้ำที่พร่างพรมทุกวัน ได้รังสรรค์เป็นดอกกล้วยไม้ (ซ้ำ)

  5. วัตถุประสงค์ ตระหนัก และวิเคราะห์ การนำกระบวนการนิเทศการศึกษาที่มีประสิทธิภาพไปใช้

  6. เนื้อหา กระบวนการนิเทศ PDCA PIDRE การประยุกต์ใช้กระบวนการ นิเทศที่มีประสิทธิภาพ

  7. ชิ้นงาน งานกลุ่ม 1 ชิ้น • การวิเคราะห์กระบวนการนิเทศ จากกรณีศึกษา

  8. องค์ประกอบสำคัญของการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพองค์ประกอบสำคัญของการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ

  9. คุณภาพการศึกษา สมรรถนะของบุคลากร กระบวนการจัดการศึกษา ภารกิจในการจัดการศึกษา คุณภาพผู้เรียน

  10. ภารกิจหลักของสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

  11. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

  12. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

  13. กระบวนการสำคัญในการจัดการศึกษากระบวนการสำคัญในการจัดการศึกษา กระบวนการ บริหารการศึกษา กระบวนการ นิเทศการศึกษา ศึกษานิเทศก์ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้บริหาร ครู คุณภาพการศึกษา ผู้เรียน

  14. ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการนิเทศการศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการกับการนิเทศการศึกษา

  15. ความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษาความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา สงัด อุทรานันท์ (2530) • 1. เพื่อพัฒนาคน • 2. เพื่อพัฒนางาน • 3. เพื่อสร้างประสานสัมพันธ์ • 4. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจ

  16. ความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษาความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา อดัมส์ดิ๊กกี(Adams and Dickey,1953) • 1. เพื่อช่วยครูค้นหาและวิธีทำงานด้วยตัวเอง • 2. เพื่อให้ครูจำแนกและวิเคราะห์ปัญหาตนเอง • 3. เพื่อช่วยให้ครูรู้สึกมั่นคงในอาชีพ • 4. เพื่อช่วยเผยแพร่แผนการศึกษาของโรงเรียน และสนับสนุนโรงเรียน

  17. ความหมายของการนิเทศการศึกษาความหมายของการนิเทศการศึกษา • การนิเทศการศึกษา หมายถึง การจัดกิจกรรมของผู้นิเทศ ที่ไม่เป็นการบังคับ เพื่อช่วยเหลือให้ครูปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ทำให้เกิดขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูช่วยพัฒนาครูให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพการศึกษาก่อให้เกิดผลดีต่อการพัฒนาเด็กอย่างเต็มตามศักยภาพ

  18. ปฏิสัมพันธ์และสื่อสารทั้งทางตรงและทางอ้อมโดยไม่สั่ง ไม่สอน ศึกษานิเทศก์ต้องใช้อะไรบ้าง ศึกษานิเทศก์ • จุดประกาย • ขายความคิด • ต่อยอดความคิด • กระตุ้น ถามหา • ยั่วยุ ท้าทาย • ยกย่อง ชมเชย • ให้กำลังใจ • อำนวยความสะดวก • ร่วมคิด พาทำ ฯลฯ ผู้รับการนิเทศ ทักษะการนิเทศวิธีการนิเทศ เทคนิคการนิเทศ กิจกรรมการนิเทศ กระบวนการนิเทศเครื่องมือการนิเทศ

  19. วิธีการ เทคนิค หรือ กิจกรรมการนิเทศ face to face ศึกษานิเทศก์ การให้คำชี้แนะ การนิเทศแบบคลินิก การประชุมปฏิบัติการ • จุดประกาย • ขายความคิด • ต่อยอดความคิด • กระตุ้น ถามหา • ยั่วยุ ท้าทาย • ยกย่อง ชมเชย • ให้กำลังใจ • ร่วมคิด พาทำ ฯลฯ ผู้รับ การนิเทศ วิธีการนิเทศทางตรง วิธีการนิเททางอ้อม ฯลฯ Web site เอกสาร สื่อ สิ่งพิมพ์ โทรศัพท์

  20. หลักเกณฑ์ในการเลือกกิจกรรมการนิเทศการศึกษาหลักเกณฑ์ในการเลือกกิจกรรมการนิเทศการศึกษา • จุดประสงค์ของการนิเทศ • ขนาดของกลุ่มผู้รับการนิเทศ • ประสบการณ์หรือประโยชน์ที่ผู้รับการนิเทศจะได้รับ

  21. ร่วมคิด/ทำ หลักการ นิเทศ ตรงปัญหา/ ต้องการ ถูกหลักวิชา ประชาธิปไตย

  22. กระบวน การนิเทศ

  23. “กระบวนการ” มีลักษณะอย่างไร

  24. วงจร

  25. 3 2 4 1

  26. 1 2 3 4 5 วางแผน ปัญหา นิเทศ พัฒนานวัตกรรม ประเมิน และ รายงาน ปฏิบัติ สปช, 2540 นิเทศ

  27. I Informing D Doing R Reinforcing E Evaluating PIDRE สงัด อุทรานันท์, 2530 P Planning

  28. กระบวนการเดมมิง .วางแผน Plan ปฏิบัติตามแผน Do ปรับปรุงแก้ไข Act ตรวจสอบประเมินผล Check

  29. รูปแบบนิเทศแบบสามประสานรูปแบบนิเทศแบบสามประสาน 1 2 3 4 นิเทศ ภายใน 5 ปัญหา/ จุดพัฒนา วางแผน ทางตรง สร้างสื่อ นิเทศ ทางตรง ติดตาม ประเมิน ผล คุณภาพ นักเรียน ติดตามฯ ทางไกล สร้างสื่อ ทางไกล ข้อมูลป้อนกลับ

  30. กระบวนการนิเทศการสอน โกลด์ แฮมเมอร์, 1980 ประชุมก่อน สังเกตการสอน สังเกตการสอน กำหนดวิธีการนิเทศ ประชุมเพื่อวิเคราะห์ ผลการนิเทศ ประชุมเพื่อให้คำแนะนำ

  31. กระบวนการนิเทศการสอน คอบแลนด์และ โบยัน(1978) ประชุมก่อนสังเกตการสอน ดำเนินการสังเกตการสอน วิเคราะห์ผลการสังเกต ประชุมหลังการสังเกต

  32. กระบวนการนิเทศแบบคลินิกกระบวนการนิเทศแบบคลินิก ประชุมร่วมกับครู การสังเกตการสอนในชั้นเรียน วิเคราะห์ ตีความผลการสังเกต การประชุมร่วมกับครู วิพากษ์การดำเนินการทั้ง 4 ขั้น

  33. กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน 1. ศึกษาสภาพปัญหา 2. ศึกษาเทคนิควิธีการนิเทศ 3. ให้ความรู้แก่ครูที่ร่วมโครงการ 4. ผู้นิเทศและครูร่วมกันวางแผน 5. ครูสอน ผู้นิเทศสังเกตการสอน 6. ผู้นิเทศบันทึกผลสังเกตการสอน 7. ประเมินผลการนิเทศ

  34. ลักษณะสำคัญของ“กระบวนการนิเทศ”ลักษณะสำคัญของ“กระบวนการนิเทศ” 1.มีขั้นตอนสำคัญ 2.เรียงลำดับอย่างต่อเนื่อง 3.มีจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายเป็นวงจร

  35. “กระบวนการนิเทศการศึกษา”“กระบวนการนิเทศการศึกษา” ปฏิสัมพันธ์และสื่อสารอย่างไร การปฏิสัมพันธ์และสื่อสารของ ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมด้วยทักษะ เทคนิค วิธีการและกิจกรรมที่เหมาะสม หลากหลายอย่างเป็นขั้นตอนและต่อเนื่อง ศึกษานิเทศก์ ผู้รับการนิเทศ

  36. ร่วมเรียนรู้ 3 กิจกรรม

  37. โจทย์ :จากรูป ลูกเต๋า 3 ลูกวางทับซ้อนกัน เราสามารถมองเห็นจุดด้านบน ของลูกที่ 1 จำนวน 1 จุด จงหาจำนวนจุดบนหน้าลูกเต๋าที่ขนานกับ แนวนอนทั้ง 5 ด้าน ที่เรามองไม่เห็น ลูกที่ 1 ตอบ.........จุด ลูกที่ 2 ลูกที่ 3

  38. ขั้นตอนกิจกรรม กิจกรรมที่ 1 (20 นาที) • แต่ละคน ศึกษาใบความรู้กรณีศึกษา เรื่อง กระบวนการนิเทศของฉัน • กลุ่มร่วมกันสรุปว่า มีขั้นตอนสำคัญอย่างไรบ้าง บันทึกผลการวิเคราะห์ในคลิปชาร์ด / ใบกิจกรรม

  39. ขั้นตอนกิจกรรม กิจกรรมที่ 1 (30 นาที) • ชม วิดิทัศน์ เรื่อง ดช. ช. ช้าง (10 นาที) • กลุ่มร่วมกัน วิเคราะห์ จุดเด่น จุดด้อย กำหนดจุดที่จะพัฒนา (นิเทศ) 3. กำหนดกระบวนการนิเทศ (ขั้นตอนสำคัญ) อย่างไรบ้าง บันทึกผลการวิเคราะห์ในคลิปชาร์ด / ใบกิจกรรม

  40. ขั้นตอนกิจกรรม กิจกรรมที่ 2 (30 นาที) 1. ศึกษากระบวนการนิเทศแบบ PDCA และ PIDRE 2. วิเคราะห์ความสอดคล้องของ กระบวนการนิเทศจากกรณีศึกษา กระบวนการ PDCA และ PIDRE 3. บันทึกผลการวิเคราะห์ในคลิปชาร์ด / ใบกิจกรรม

  41. ขั้นตอนกิจกรรม กิจกรรมที่ 3 (30 นาที) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ตลาดนัด) 1. แต่ละกลุ่ม กำหนดให้สมาชิก 1 คน เป็นผู้นำเสนอผลงานอยู่ที่กลุ่ม 2. สมาชิกคนอื่นไปเรียนรู้ผลงานกลุ่มอื่น เวียน จากกลุ่ม 1 ไปกลุ่ม 2, กลุ่ม 2 ไปกลุ่ม 3 … จนครบทุกกลุ่ม 3. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันอภิปราย / สุ่มนำเสนอ

  42. งานกลุ่ม แบบวิเคราะห์กระบวนการนิเทศจากกรณีศึกษา กลุ่มที่........................................... ผู้ร่วมประชุม 1……………………3……………………… 2……………………4……………………… ฯลฯ ผลการวิเคราะห์กระบวนการนิเทศจากกรณีศึกษา 1.ขั้นตอนการนิเทศจากกรณีศึกษา • .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ • .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... • .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... • .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... • .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... • .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... • .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... • .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... • .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... • .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... • .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... • ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

  43. 2.ความสอดคล้องของกระบวนการนิเทศจากกรณีศึกษากับการนิเทศแบบ “PDCA”และ “PIDRE”

  44. สรุปบทเรียน

  45. กระบวนการนิเทศการศึกษากระบวนการนิเทศการศึกษา เป็นการทำงานอย่างมีแบบแผน เริ่มจาก 1. การวิเคราะห์งานการเรียนการสอนของครูเพื่อจะได้ ทราบปัญหาที่จะต้องรีบแก้ไขปรับปรุง 2. วางแผนที่จะดำเนินการโดยหาทางเลือกที่จะ แก้ปัญหาที่ดีที่สุด 3. ดำเนินการตามแนวขั้นตอนตามลำดับจนถึงขั้น การประเมินผลการปฏิบัติงาน 4. นำผลการปฏิบัติไปปรับปรุงแก้ไข

  46. ผู้นิเทศมืออาชีพ เป็น Expert ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง มีข้อมูลแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและนำชี้ได้ เป็นผู้ประสานและนำผู้รู้ ภูมิปัญญา วิทยากรเข้าสู่โรงเรียนได้ทุกเมื่อ เป็นผู้ให้บริการที่ยอดเยี่ยม ประทับใจ

  47. ศน.ทุกคนควรทำตัวแบบนี้ ศน.ทุกคนควรทำตัวแบบนี้

More Related