1 / 124

พระราชปรารภ

พระราชปรารภ.

arwen
Download Presentation

พระราชปรารภ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชปรารภ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่า ทองแดงเป็นสุนัขธรรมดาที่ไม่ธรรมดา มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันนับว่ากว้างขวาง มีผู้เขียนเรื่องทองแดงก็หลายเรื่อง แต่น่าเสียดายว่าเรื่องที่เล่ามักคลาดเคลื่อนจากความจริง และขาดข้อมูลสำคัญบางประการ โดยเฉพาะเกี่ยวกับความกตัญญูรู้คุณของทองแดงที่มีต่อ “แม่มะลิ” ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงยกย่องว่า “ผิดกับคนอื่นที่เมื่อกลายเป็นคนสำคัญแล้ว มักจะลืมตัว และดูหมิ่นผู้มีพระคุณที่เป็นคนต่ำต้อย”………………………………………………………….... พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล หัวหิน 26 พฤศจิกายน 2545

  2. Development of the gastrointestinal system Objectives 1. บอกส่วนต่างๆ ของ Primitive gut ได้ถูกต้อง 2. อธิบายการเจริญของทางเดินอาหารส่วน Foregut, Midgut และ Hindgut ได้ถูกต้อง 3. อธิบายการเจริญของอวัยวะช่วยย่อยอาหารได้ถูกต้อง 4. อธิบายการเจริญของทางเดินอาหารที่ผิดปกติได้ 5. อธิบายความสัมพันธ์ในการเจริญของระบบทางเดินอาหารกับระบบอื่นได้

  3. Review of the gastrulation I Gastrulation เป็นการเปลี่ยนแปลงจาก Bilaminar embryonic discเป็น Trilaminar embryonic disc From epiblast and Hypoblast to Ectoderm, Mesoderm and Endoderm

  4. Review of the gastrulationII • 1.มีการสร้างnotochordal processจาก primitive node และpremitive pit • 2. หน้าสุดต่อnotochordal process เป็นบริเวณที่ectoderm และendoderm ยึดติดกันแน่น เรียกว่าprechordal (Prochordal) plateซึ่งต่อไปจะเจริญไปเป็นoropharyngeal membraneและเจริญเป็นช่องปากในที่สุด

  5. Review of the gastrulationIII 3. หน้าต่อ Prochordal plate เป็นบริเวณที่เรียกว่า cardiogenic area ซึ่งจะเจริญเป็นหัวใจต่อไป 4. ทางด้านท้ายของ premitive streakเป็นบริเวณที่ ectoderm และ endoderm ยึดติดกันแน่นเป็นวงกลม เรียกว่า cloacal membraneซึ่งเป็นบริเวณที่จะเจริญเป็นทวารหนัก

  6. Formation of the primodial (primitive) gut I • เกิดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 • เกิดโดยมี head folding,tail folding และ lateral folding • Head foldingทำให้สมองส่วนหน้าเจริญไปด้านหน้าต่อ oropharyngeal membraneและบริเวณcardogenic area เคลื่อนลงมาอยู่ ventral สุด และทำให้มีการดึงเอาendodermของ yolk sac เข้าไปอยู่ในตัวอ่อน เรียกว่า foregut

  7. Formation of the primodial (primitive) gut II - Tail foldingทำให้ส่วนท้ายต่อ cloacal membrane ม้วนตัวลงมาทางด้าน ventral ส่งผลให้ดึง endoderm ของ yolk sac เข้ามาเป็นส่วนhind gut - ส่วนปลายของ hind gut จะขยายตัวขึ้นเรียกว่าcloacaซึ่งต่อไปจะเจริญเป็นกระเพาะปัสสาวะและทวารหนักในที่สุด

  8. Formation of the primodial (primitive) gut III Lateral foldingเกิดทั้งสองข้างโอบลงมาทาง ventral หุ้มเอา yolk sac ไว้ข้างในจึงเป็นส่วน midgut

  9. ทางเดินอาหารประกอบด้วยทางเดินอาหารประกอบด้วย 1. Digestive canal proper 2. Associated digestive gland

  10. การเจริญเปลี่ยนแปลงของ embryonic germ layer Endoderm Epithelium lining Parenchymal cell of GI gland Splanchinc mesoderm Gut wall Submucosa, Muscular Serosa

  11. Digestive Canal Proper Stomodeum Foregut Midgut Hindgut Proctodeum

  12. Blood supply of the primitive gut • Foregut = Celiac artery • Midgut = Superiormesenteric artery • Hindgut = Inferior mesenteric artery

  13. The stomodeum • Boundary • ด้านบนเป็น frontonasal • ด้านข้างเป็น maxillary • ด้านล่างเป็น Mandibular • ข้างในเป็น oropharyngeal membrane

  14. Stomodeum and associated structures • The stomodeum membrane • The tongue • The pituitary gland • The salivatory gland • The palate

  15. The stomodeum membrane Stomodeum membrane (oropharyngeal membrane) Frontonasal process Frontal, nose,eye Maxillary process Upper lip, Maxilla, upper cheek Mandibular process Lower lip, Mandible,lower cheek

  16. The stomodeum membrane • เกิดการตายของเซลล์ของ oropharyngeal membrane ในสัปดาห์ที่ 5 ทำให้ช่องปากทะลุเข้าคอหอยได้

  17. Development of the tongue • เกิดในสัปดาห์ที่ 4 • เกิดรอยนูนเนื่องจาก mesenchyme ที่ floor ของ pharynx เจริญอย่างรวดเร็ว 5 รอย • Median tongue bud หรือ tuberculum impar เกิดก่อนอยู่ระหว่าง arch ที่ 1 และ 2 • ต่อมาเกิด distal tongue bud (lateral lingual swelling) ระหว่าง arch ที่ 1

  18. Development of the tongue • Copula ระหว่าง arch ที่ 2 • Hypobranchial eminence ระหว่าง arch ที่ 3-4

  19. Development of the tongue • Distal tongue bud เจริญมาพบกันตรงกลางทับ median tongue bud • Hypobranchial eminenece เจริญเร็วกว่าจึงกลืน copula ให้หายไป • พบ foramen cecum

  20. Development of the tongue • Lateral tongue bud เจริญไปเป็น 2/3 ด้านหน้าของลิ้น • Hypobranchial eminenence (เฉพาะของ arch 3)เจริญไปเป็น 1/3 ด้านหลังของลิ้น • ระหว่างด้านหน้าและด้านหลังพบร่องรูปตัว V เรียกว่า terminal sulcus • ล่างสุดของ V พบ foramen cecum

  21. Development of the tongue • Mesenchyme ของ pharyngeal arch เจริญเป็นหลอดเลือด เนื้อเยื่อเกี่ยวพันของลิ้น • กล้ามเยื้อของลิ้นเจริญจาก myoblast ของ occipital myotome • Hypoglossal nerve เคลื่อนมาตาม myoblast

  22. Development of the tongue • Lingual papilla เกิดในสัปดาห์ที่ 8 • Vallate papillae และ foliate papillae เกิดก่อนใกล้กับปลายแขนง glossopharyngeal nerve • Fungiform papillae เกิดใกล้แขนง chorda tympani • Filliform papillae เกิดใกล้แขนง lingual nerve • Tastebud เจริญในสัปดาห์ที่ 11-13

  23. Development of anterior pituitary gland • เกิดในกลางสัปดาห์ที่ 4 • เจริญมาจาก ectoderm 2 แหล่ง คือ ectodermal roof of stomodeum และ neuroectoderm ของ diencephalon

  24. Development of anterior pituitary gland • ส่วนที่ยื่นขึ้นไปจาก ectodermal roof ของ stomodeum คือ Rathke’s pouch • ส่วน neuroectodermที่ยื่นลงมาจาก diencephalon คือ infundibulum

  25. Development of anterior pituitary gland • สัปดาห์ที่ 6 เริ่มเกิดการเสื่อมสลายของก้าน Rathke’s pouch

  26. Development of anterior pituitary gland • สัปดาห์ที่ 8 ก้าน Rathke’s pouch ไม่ติดต่อกับช่องปาก • Ectodermal roof ของ stomodeum เจริญเป็น anterior lobe (adrenohypophysis) • Neuroectoderm ของ diencephalon เจริญเป็น posterior lobe (neurohypophysis)

  27. Development of the salivatory gland • ectoderm ของช่องปาก เกิด invagination เป็น solid cord ไปตามตำแหน่งที่เป็นรูเปิดของต่อมน้ำลายนั้นๆ • สัปดาห์ที่ 6 เกิด parotid gland • ปลายสัปดาห์ที่ 6 เกิด submandibular gland • สัปดาห์ที่ 8 เกิด sublingual gland เกิด acini ที่ปลายของ solid cord แต่ละอันเพื่อสร้างนำลาย แล้วเกิด canalization ของ solid cord เพื่อเป็นท่อ

  28. Development of the salivatory gland • สัปดาห์ที่ 10 parotid gland สร้างท่อ สัปดาห์ที่ 18 เริ่มหลั่งน้ำลาย • สัปดาห์ที่ 12 submandibular สร้างท่อ สัปดาห์ที่ 16 เริ่มหลั่งน้ำลาย • Sublingual gland เจริญช้าที่สุดจะหลั่งน้ำลายได้หลังคลอด

  29. Pharynx and derivatives Lower respiratotory tract Esophagus Stomach Duodenum (to the opening of bile duct) Liver and pancreas Biliary apparatus Derivative of the foregut

  30. The primitive pharynx • พัฒนาในต้นสัปดาห์ที่ 4 จากการที่หัวใจเคลื่อนลงมาทางด้าน ventral และไปทาง cuadal ทำให้เกิด foregut ไปพร้อมกัน • ขอบเขตด้านหัวสุดเป็น Oropharyngeal membrane • ด้านข้าง พื้น หลังคาเป็น pharyngeal apparatusทั้ง 6 คู่

  31. ส่วนประกอบของ pharynx เรียนแล้วในเรื่อง branchial apparatus

  32. Embryonic pharynx เจริญไปเป็น Faucial portion Pharynx proper in adult 1/3 upper of esophagus

  33. Derivative of the pharynx

  34. Floor of embryonic pharynx

  35. Ventral wing Dorsal wing Ventral wing Dorsal wing Derivative of The Pharyngeal pouch

  36. Derivatives of all pharyngeal pouch in 7th week

  37. Development of thyroid gland

  38. Anomalies of the foregut • Hare lip or clef lip • Clef palate • Oblique facial face • Agnathia ไม่มีคาง • Aglossia ไม่มีลิ้น • Bifid tongue / Trifid tongue

  39. Development of the esophagus เจริญในสัปดาห์ที่ 4 ต่อจากส่วนท้ายของ pharynx ตรงตำแหน่งที่มี respiratory diverticulum แยกออกไปเป็นระบบหายใจส่วนล่าง จนถึงกระเพาะอาหาร

  40. Development of the esophagus • Esophagus แยกจาก respiratory diverticulum ด้วย tracheoesophageal septum (esophagotracheal septum)

  41. Development of the esophagus - ในสัปดาห์ที่ 7 esophagus ยืดยาวออกไปอย่างรวดเร็วทำให้กระเพาะเคลื่อนลงมาอยู่ในช่องท้อง -สัปดาห์ที่6-7 เกิด epithelial plug -สัปดาห์ที่ 8-9 เกิด recanalization

  42. Pattern of recanalization of the gut

  43. ผนังของ esophagus • Mucosa • -ระยะแรกเยื่อบุผิวเป็น ciliated columnar • -ประมาณเดือนที่ 5-6 จึงเปลี่ยนเป็น stratified squamous non keratin • Muscular (all innervate by CNX) • 1/3 upper เจริญมาจาก branchial arch 4-6 จึงเป็นกล้ามเนื้อลาย • 1/3 lower เจริญมาจาก splanchnic mesodermที่อยู่รอบๆ • 1/3 middle ผสมทั้งกล้ามเนื้อลายและกล้ามเนื้อเรียบ • Serosa มาจาก mesoderm ที่อยู่รอบๆ และเจริญเป็น ventral and dorsal mesoesophagus

  44. Esophageal atresia and/or Tracheoesophageal fistula

  45. Development of The Stomach

  46. Formationof the stomach • การเปลี่ยนแปลงระหว่างการเคลื่อนลงมาของ stomach • ผนังด้านหลังเจริญเร็วกว่าทางด้านหน้า ดังนั้นด้านหลังเจริญเป็น greater curvature ด้นหน้าเป็น lesser curvature • บริเวณ cranial สุด เจริญโป่งออกเป็น fundus • มีการหมุนประมาณ 90 องศา ตามแข็มนาฬิกา

More Related