1 / 60

สำนักโรคติดต่อทั่วไป

สำนักโรคติดต่อทั่วไป. แนวโน้มปัญหา ปัจจัยเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง. กลุ่มโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ

art
Download Presentation

สำนักโรคติดต่อทั่วไป

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักโรคติดต่อทั่วไป

  2. แนวโน้มปัญหา ปัจจัยเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง กลุ่มโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ สถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษลดลง อุจจาระร่วงเฉียบพลันไม่ลด และมีปัญหาอหิวาตกโรคในปี 2550-2551 มาก ปัจจัยเสี่ยงเรื่องการประกอบอาหาร พื้นที่เสี่ยงจังหวัดชายแดน เช่น ตาก และจังหวัดทางชายทะเล เช่น จังหวัดสมุทรปราการ

  3. แนวโน้มปัญหา ปัจจัยเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง กลุ่มโรคหนอนพยาธิ สถานการณ์แนวโน้มลดลง ขาดการประเมินผลสถานการณ์

  4. แนวโน้มปัญหา ปัจจัยเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง กลุ่ม ARIC อัตราป่วยไม่ลด อัตราตายลด การใช้ยาปฏิชีวนะเกินจำเป็น เด็กในศูนย์เด็กเล็กจะป่วยมากกว่าเด็กที่อยู่ในบ้าน

  5. แนวโน้มปัญหา ปัจจัยเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคของEPI ลดลง โปลิโอลดลงหลายปี แต่ยังมีความเสี่ยงจากประเทศเพื่อนบ้าน และมีพันธะpolio Eradicate โรคไข้หวัดใหญ่ปีละ 30,000 ราย มีผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเสี่ยง

  6. แนวโน้มปัญหา ปัจจัยเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน โรคพิษสุนัขบ้าลดลงในคนแต่ในสัตว์ไม่รู้สถานการณ์ การฉีดวัคซีนโรคพิษสุนัขบ้าในคนไม่ลดประมาณหนึ่งล้านคนต่อปี เป้าหมายองค์การอนามัยโลกต้องให้มี Rabies Free Zone กลยุทธ์ต้องทำงานเป็นเครือข่าย มีเครือข่ายเกิดขึ้นแล้ว 2 ภาค ภาคเหนือกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปัญหาโรคติดเชื้อสเตร็พโตค็อกคัส ซูอิส พบภาคเหนือ โรคเลปโตสไปโรซิส พบภาคอีสาน ภาคกลางพบโรคบรูเซลโลซิส และภาคใต้มีแนวโน้มเพิ่มในโรคโรคเลปโตสไปโรซิส และโรคพิษสุนัขบ้า

  7. แนวโน้มปัญหา ปัจจัยเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง กลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ โรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำเกิดขึ้นในต่างประเทศในระยะ 20-30 ปีที่ผ่านมามีจำนวนมาก หรืออาจแพร่ระบาดเข้ามาในราชอาณาจักร เช่น ซาร์ นิปาร์ ไวรัส ไข้หวัดนก และด่านต้องดำเนินการป้องกันโรคโดยอาศัย พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2523 และกฎระเบียบข้อบังคับระหว่างประเทศอื่นๆ เช่น กฎอนามัยระหว่างประเทศ 2548 จึงจำเป็นต้องฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ด่านให้มีความรู้ความสามารถบังคับใช้กฎหมายกฎระเบียบต่างๆให้มีความแม่นยำและมีประสิทธิภาพ ด่านระหว่างประเทศ 60 แห่งต้องได้รับการพัฒนาตาม IHR 2005

  8. หน่วยงานภายนอกที่เป็นผู้ดำเนินการกับประชาชนหน่วยงานภายนอกที่เป็นผู้ดำเนินการกับประชาชน • กรมอนามัย กรมวิทย์ อาหารและยา. กรมสนับสนุนบริการสาธารณสุข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงศึกษา กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงมหาดไทยกรมประชาสัมพันธ์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ • สสจ สสอ.ศูนย์วิทย์ ศูนย์อนามัย สำนักเขตพื้นที่การศึกษา อปท ประชาสัมพันธ์จังหวัด

  9. ผลผลิต/โครงการร่วมระหว่างหน่วยงานผลผลิต/โครงการร่วมระหว่างหน่วยงาน ผลผลิต หน่วยงานและเครือข่าย เป้าหมายได้รับการสนับสนุนส่งเสริมศักยภาพและความเข้มแข็งในการจัดการระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมระบบภัยสุขภารวมทั้งบริการที่มีคุณภาพ กิจกรรมหลัก พัฒนาระบบบริหารจัดการและเตรียมความพรัอมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข(PHER) P2 ตัวชี้วัด • ร้อยละของสำนักฯ สคร.ที่มีแผนเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข • ร้อยละของบุคลากรของสำนักฯ สคร.มีสมรรถนะในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข • ร้อยละของหน่วยงานมีระบบบริหาร Logistic ในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้ตามมาตรฐาน • ร้อยละของเครือข่ายตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย มีสมรรถนะในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข • ร้อยละของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคร่วมดำเนินการซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข สรุปโครงการของ P2 4 โครงการ

  10. 1. โครงการเตรียมความพร้อมรับการระบาดของอหิวาตกโรค กิจกรรม • สรตและสคร.จัดทำแผนLogistics ตั้งงบประมาณ • ปรับปรุง/ทำ SOP - สรต. • เตรียมความพร้อม : พัฒนาความเชี่ยวชาญ สรต. • ซ้อมแผน สคร.ร่วมกับสรต. ดำเนินการ ปี2552

  11. 2. โครงการพัฒนาสมรรถนะหลักฯตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ 2548 (IHR 2005) เพื่อรับมือกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ • กิจกรรม • หน่วยงานส่วนกลางทบทวนกิจกรรมที่ต้องดำเนินการตามภาคผนวก 1 ข ในกฎอนามัยระหว่างประเทศผ่านกระบวนการของคณะอนุกรรมการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศตาม IHR2005(สรต) • หน่วยงานส่วนกลางและสคร. ประชุมชี้แจงกับด่านฯ ที่เป็นเป้าหมายการประเมินของ WHO(สรต.) • หน่วยงานส่วนกลางดำเนินการฝึกอบรม/ฝึกทักษะจนท.ตามข้อกำหนดในภาคผนวก 1 ข • หน่วยงานส่วนกลางร่วมกับ สคร.ประเมินสรุปผลการดำเนินการ

  12. 3.โครงการเตรียมความพร้อมในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนในภาวะอุทกภัย3.โครงการเตรียมความพร้อมในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนในภาวะอุทกภัย กิจกรรม 1.ทบทวนข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มการเกิดโรค ภัยธรรมชาติที่มีผลต่อการเกิดโรค(สรต/สคร.) 2.จัดทำแผนงานเตรียมความพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน แนวทางปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคที่สามารถใช้ได้กับสถานการณ์จริงของกลุ่มงานโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมวิทย์ฯ กรมอนามัย กรมปศุสัตว์(สรต./สคร.) 3.ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสารมวลชนก่อน ระหว่าง และหลังการเกิดอุทกภัยเพื่อเตือนประชาชนให้ดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน ให้ปลอดภัยจากการเกิดโรค(สรต/สคร) 4.จัดหาและสนับสนุนเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ในการป้องกันควบคุมโรคให้พื้นที่(สรต/สคร) 5.สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน(สรต)

  13. 4.โครงการจัดหา/สนับสนุนวัคซีน /เวชภัณฑ์/วัสดุอุปกรณ์/ครุภัณฑ์ และให้บริการเพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ กิจกรรม • หน่วยงานส่วนกลางรวบรวม จัดทำ และวิเคราะห์ ประมาณการข้อมูลเกี่ยวกับวัคซีน /เวชภัณฑ์/วัสดุอุปกรณ์/ครุภัณฑ์ ที่จำเป็นในการเฝ้าระวังโรคและให้บริการเพื่อจัดซื้อและสนับสนุนให้กับด่านฯ(สรต. สคร.) และภารกิจอื่นๆ เช่น สนับสนุนผู้แสวงบุญประกอบพิธีฮัจย์(สคร.ที่เกี่ยวข้อง) ดำเนินการปี 2552-2554

  14. ผลผลิต/โครงการร่วมระหว่างหน่วยงานผลผลิต/โครงการร่วมระหว่างหน่วยงาน ผลผลิต องค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่ได้มาตรฐาน กิจกรรมหลัก ศึกษาค้นคว้าวิจัยพัฒนาวิชาการเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีด้านการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ(P3) ตัวชี้วัด จำนวนองค์ความรู้เพื่อการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ ร้อยละขององค์ความรู้ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพได้มาตรฐานทางวิชาการ องค์ความรู้ที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผน สรุปโครงการ P315 เรื่อง

  15. 1.โครงการพัฒนาแนวทางโรคติดต่อทางอาหารและน้ำสำหรับภาคีเครือข่าย1.โครงการพัฒนาแนวทางโรคติดต่อทางอาหารและน้ำสำหรับภาคีเครือข่าย กิจกรรม • จัดทำแผนยุทธศาสตร์ (สรต. / สคร.) • จัดทำแนวปฏิบัติในการป้องกันควบคุมอหิวาตกโรค(สรต) • ทำให้ระดับ เขต จังหวัด อำเภอใช้ • เป็น working manual (ไม่ใช่ textbook) • Update : เช่น การเก็บสิ่งส่งตรวจ ยาปฎิชีวนะ ฯลฯ • เพิ่ม : SOP กรณีภัยแล้ง (เตรียมก่อนเกิดโรค)/น้ำท่วม ดำเนินการปี2552-2553

  16. 2.โครงการพัฒนาคู่มือการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคสำหรับบุคลากร2.โครงการพัฒนาคู่มือการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคสำหรับบุคลากร กิจกรรม ดำเนินการปี 2553-2554

  17. 3.โครงการความคุ้มทุนของการนำวัคซีนไวรัสโรต้ามาบรรจุในโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในประเทศไทย3.โครงการความคุ้มทุนของการนำวัคซีนไวรัสโรต้ามาบรรจุในโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในประเทศไทย กิจกรรม ดำเนินการปี 2552

  18. 5.โครงการการศึกษาสถานการณ์พยาธิ/โปรโตซัวทั่วประเทศ ปี 2552 กิจกรรม สำรวจสถานการณ์พยาธิ/โปรโตซัว(สคร.1-12/สรต.) ดำเนินการปี 2552

  19. 6. โครงการพัฒนารูปแบบการป้องกันควบคุมโรคอุจจาระร่วงแบบบูรณาการ กิจกรรม 1. สรต.และส.ระบาดและหน่วยงานระดับกรมควรคุยกันเรื่อง ”บทบาท” ก่อน (สรต.) 2. จัดเวทีสรุปการเรียนรู้โดย สรต. 3. สคร. เตรียมการ เพื่อทำ model development งานอาหารและน้ำ และprevention งานอาหารและน้ำ ปีดำเนินการ 2552-2553

  20. 7. โครงการวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กิจกรรม ปีดำเนินการ ปี 2553

  21. 8.โครงการการหาอัตราติดเชื้อสครับไทฟัสจากสัตว์รังโรคและการตรวจแยกเชื้อ O. tsutsugamushi จากไรอ่อน โดยวิธี PCR ในพื้นที่เกิดโรคและพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กิจกรรม ปีดำเนินการ 2552

  22. 9.โครงการศึกษาต้นทุนของมาตรการลดโรคอุจจาระร่วงและอาหารเป็นพิษ ปี 2552 กิจกรรม ปีดำเนินการ 2552

  23. 10.โครงการศึกษาสภาพปัญหาการดำเนินงานโรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทย10.โครงการศึกษาสภาพปัญหาการดำเนินงานโรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทย กิจกรรม • ทบทวนวรรณกรรม รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำโครงร่างการศึกษา(สรต.) • ดำเนินการศึกษาสภาพปัญหา (สคร.) • วิเคราะห์ข้อมูล (สคร./สรต.) • สรุปผลและจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย(สรต.) • ถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติผ่านเครือข่ายความร่วมมือโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน (สคร./สรต.) • ปีดำเนินการ 2552

  24. 11.โครงการศึกษาหารูปแบบการสร้างเขตปลอดโรคพิษสุนัขบ้า11.โครงการศึกษาหารูปแบบการสร้างเขตปลอดโรคพิษสุนัขบ้า กิจกรรม • รวบรวมปัญหาข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์โรค ความเป็นไปได้ในการสร้างเขตปลอดโรค (สรต.) • กำหนดรูปแบบการสร้างเขตปลอดโรคพิษสุนัขบ้า (สรต./สคร.) • ถ่ายทอดรูปแบบสู่การปฏิบัติ(สรต./สคร.) • ดำเนินการสร้างเขตปลอดโรคตามรูปแบบที่เหมาะสมตามพื้นที่(สคร.) • วิเคราะห์ผลการสร้างเขตปลอดโรคพิษสุนัขบ้า(สรต./สคร.) • สรุปและจัดทำข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ (สรต.) • ถ่ายทอดรูปแบบการสร้างเขตปลอดโรคพิษสุนัขบ้าสู่การปฏิบัติ (สคร.) ดำเนินการปี 2552

  25. 12.โครงการศึกษาหารูปแบบและมาตรการป้องกันโรคสเตร็พโตค็อกคัสซูอิสของประเทศไทย12.โครงการศึกษาหารูปแบบและมาตรการป้องกันโรคสเตร็พโตค็อกคัสซูอิสของประเทศไทย กิจกรรม 1. ศึกษาทบทวนความรู้ที่เกี่ยวข้อง(สรต/สคร) 1.1 ศึกษาความชุกและปัจจัยเสี่ยงของสัตว์ที่ทำให้เกิดการระบาดของโรคในคน(สรต/สคร1-12) 1.2 ศึกษาพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง(สรต/ สคร1-12) 1.3.ศึกษาหารูปแบบการสื่อสารความเสี่ยง(สคร8 9 10) 1.4 ศึกษาและประเมินความพร้อมสถานบริการสาธารณสุขในการรับมือการระบาดของกลุ่ม อาการไข้สมองอักเสบจากสเตร็พโตค็อกคัส ซูอิส(สรต/ สคร1-12) 1.5 ศึกษารูปแบบและมาตรการการควบคุมป้องกันโรคสเตร็พโตค็อกคัส ซูอิส(สคร8 9 10) 2. ดำเนินการศึกษาพฤติกรรมในการป้องกันควบคุมโรค 3. วิเคราะห์ สังเคราะห์จัดทำรายงาน 4. ถ่ายทอดผลการศึกษาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ดำเนินการปี 2552-2554

  26. 13.โครงการพัฒนารูปแบบการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล กิจกรรม • ประชุมหน่วยงานส่วนกลางที่เกี่ยวข้อง (สรต.) • เลือกพื้นที่ดำเนินการ (เขต 1,5,10,11) (สรต.) • ประชุมเตรียมการดำเนินงานและพิจารณาร่างแนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล(สรต.) • จัดทำและผลิตแนวทางฯ(สรต.) • ผลิตสื่อต้นแบบ (หนังสือนิทาน, CDเพลง) (สรต.) • สำรวจข้อมูลพื้นฐานด้านการป้องกันและควบคุมโรค ARIC (สคร.1 , 5 ,10 , 11 )

  27. 14.โครงการพัฒนารูปแบบโรคพิษสุนัขบ้าแนวใหม่14.โครงการพัฒนารูปแบบโรคพิษสุนัขบ้าแนวใหม่ กิจกรรม สคร.5 รับผิดชอบโครงการของบประมาณนอก ดำเนินการปี 2552

  28. 15.โครงการศึกษาระดับ Neutralizing antibody ในผู้ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าแบบฉีดเข้าผิวหนังที่ล่าช้ากว่ากำหนด กิจกรรม ดำเนินการเลือกกลุ่มตัวอย่างและศึกษา(สรต.) การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ(สถานเสาวภา) การรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล(สถานเสาวภา) การเขียนรายงาน (สรต.) ดำเนินการปี 2552-2553

  29. ผลผลิต/โครงการร่วมระหว่างหน่วยงานผลผลิต/โครงการร่วมระหว่างหน่วยงาน ผลผลิต หน่วยงานและเครือข่ายเป้าหมายได้รับการพัฒนาและประเมินประสิทธิภาพการเฝ้าระวังและจัดการป้องกันลดปัญหาจากปัจจัยเสี่ยง กิจกรรมหลัก / โครงการ ถ่ายทอดความรู้ในการดูแลเฝ้าระวังป้องกันควบคุมภัยสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่มีคุณภาพ(P4) ตัวชี้วัด สรุปจำนวนโครงการ 7 เรื่อง

  30. 1.โครงการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์การรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ1.โครงการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์การรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ กิจกรรม สรต./สคร. ดำเนินการปี 2552-2554

  31. 2.โครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่2.โครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ กิจกรรม สรต./สคร. ดำเนินการปี 2552-2554

  32. 3.โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็นระดับเขต3.โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็นระดับเขต กิจกรรม จัดประชุมพัฒนาศักยภาพ(สรต.) ประชุม อบรม พัฒนาระดับสถานบริการ(สคร.) นิเทศติดตามคลังวัคซีนระดับอำเภอ/สถานบริการ (สคร.) ประเมินระบบ cold chain ของสถานบริการ (สคร.)

  33. 4.โครงการประชุมวิชาการโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน4.โครงการประชุมวิชาการโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน กิจกรรม(สรต.) • ประชุมหารือร่วมกับกรมปศุสัตว์ เพื่อจัดทำโครงการกำหนดหัวข้อสำคัญในการประชุม สรรหาวิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิ บรรยาย • ดำเนินการประชุม • ทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายหลังการจัดประชุม • สรุปรูปเล่มรายงานผลการประชุมวิชาการโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน • เผยแพร่รายงานการประชุมวิชาการโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการปี 2552-2554

  34. 5.โครงการพระราชดำริฯ ปี 2552-2559 • กิจกรรม • แต่ละ สคร.เขต เสนอของบประมาณดำเนินการ โดยอาจตั้งเกณฑ์ ใช้เงิน 30 บาท ต่อเด็ก 1 คน เพื่อทราบยอดรวมโดยประมาณ เพื่อให้เกิด ผลลัพธ์ ต่อไปนี้ • นักเรียนทุกคนได้ตรวจอุจจาระ/ได้กินยา ครบถ้วน • อบรม/ฟื้นฟู/QC ทีมจังหวัด/อำเภอ/รพช./สอ. • อำเภอ/สอ.นิเทศงาน ทุกโรงเรียน เสนอ จังหวัด/เขต • เขต สุ่ม นิเทศบางโรงเรียน • ส่งเสริม... ให้จังหวัดจัดอบรมครูสุขศึกษา 1 วัน เพื่อให้ความรู้เรื่องโรค ต่างๆ ที่สำคัญ นำไปจัดมุมสุขศึกษาได้ • ปีดำเนินการ 2552-2559

  35. 6.โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้โรคเลปโตสไปโรซิสและโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนอื่นๆแก่บุคลากรในพื้นที่เป็นปัญหา6.โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้โรคเลปโตสไปโรซิสและโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนอื่นๆแก่บุคลากรในพื้นที่เป็นปัญหา กิจกรรม ในกลุ่มแพทย์ 1.จัดทำหลักสูตรโดยผู้เชี่ยวชาญ 2.ประสานนำหลักสูตรไปใช้ในพื้นที่โดยผ่าน ผชชว. 3.ถ่ายทอดองค์ความรู้โรคเลปโตสไปโรซิสในช่วงมีการปฐมนิเทศก์แพทย์บรรจุใหม่ในจังหวัด(ที่เป็นปัญหาใหม่)

  36. กลุ่มนักวิชาการสาธารณสุขกลุ่มนักวิชาการสาธารณสุข • พัฒนาหลักสูตรการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมสำหรับผู้นำชุมชน โรงเรียน เพื่อไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ร่วมกับบุคลากรของ สคร. • นำหลักสูตรไปนำเสนอในการประชุมหัวหน้าหน่วยงานของ สสจ. เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ • จัดพิมพ์หลักสูตรต้นแบบเผยแพร่สื่อให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • นำเสนอผลการดำเนินการของเครือข่าย ปีดำเนินการ 2552-2554

  37. 7.โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการของจนท.ประจำด่านฯทั้งส่วนกลาง และภูมิภาคทั้งเก่าและใหม่ กิจกรรม • หน่วยงานส่วนกลาง และ สคร. ดำเนินการฝึกอบรมด้านวิชาการและปฏิบัติการในงานด่านฯ ปีดำเนินการ 2552-2554

  38. ผลผลิต/โครงการร่วมระหว่างหน่วยงานผลผลิต/โครงการร่วมระหว่างหน่วยงาน ผลผลิต หน่วยงานและเครือข่าย เป้าหมายได้รับการสนับสนุนส่งเสริมศักยภาพและความเข้มแข็งในการจัดการระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมระบบภัยสุขภารวมทั้งบริการที่มีคุณภาพ กิจกรรมหลัก พัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวังข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ (P5) ตัวชี้วัด ร้อยละของข่าวกรองและภัยสุขภาพที่มีการดำเนินการตามมาตรฐาน ร้อยละของโครงการสนับสนุนเสริมการดำเนินการเสร็จตามแผนที่กำหนด สรุปจำนวนโครงการ 4 เรื่อง

  39. 1.โครงการพัฒนาข่าวกรองโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ1.โครงการพัฒนาข่าวกรองโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ • กิจกรรม • สรต. เขียนโครงการ เผื่อ สคร.(โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ) • สรต. กำหนด minimal data set และพัฒนาวิธีการเขียนข่าวกรอง ให้ กลุ่มต. ของสคร. • ดำเนินการ ปี2552-2554

  40. 2.โปรแกรมการรายงานผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้าด้วยคอมพิวเตอร์(ร.36) ขยายการประยุกต์ใช้ในสถานบริการสาธารณสุข กิจกรรม • จัดอบรมผู้ใช้โปรแกรมรายงานผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้าด้วยคอมพิวเตอร์(ร.36) ในสถานบริการสาธารณสุข • ติดตามการใช้แนวทางเวชปฏิบัติและโปรแกรมรายงานผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้าด้วยคอมพิวเตอร์(ร.36)ในสถานบริการสาธารณสุข(สคร.) 3. ประเมินผลการพัฒนาและบริหารจัดการโปรแกรม ร.36(สรต./สคร.) 4. นำระบบรายงานผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า(ร.36)ด้วยคอมพิวเตอร์เสนอ สปสช. และกระทรวงสาธารณสุขเพื่อผลักดันให้นำสู่การใช้อย่างเป็นระบบ ปีดำเนินการ 2552-2554

  41. 3.โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลรายงานการปฏิบัติงานของด่านฯ3.โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลรายงานการปฏิบัติงานของด่านฯ กิจกรรม • หน่วยงานส่วนกลางรับรายงาน รวบรวม จัดทำ และวิเคราะห์ข้อมูลการปฏิบัติงานตาม IHR 2005 จากด่านฯ ส่วนกลางและสคร. ดำเนินการปี 2552-2554

  42. 4.โครงการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล กิจกรรม หน่วยงานส่วนกลาง และ สคร. ดำเนินการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานด่านฯ ดำเนินการปี 2552-2554

  43. ผลผลิต/โครงการร่วมระหว่างหน่วยงานผลผลิต/โครงการร่วมระหว่างหน่วยงาน ผลผลิต หน่วยงานและเครือข่าย เป้าหมายได้รับการสนับสนุนส่งเสริมศักยภาพและความเข้มแข็งในการจัดการระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมระบบภัยสุขภารวมทั้งบริการที่มีคุณภาพ กิจกรรมหลัก บริการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมและภัยสุขภาพ (P6) ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยงานภาคีและเครือข่ายเป้าหมายมีการเตรียมความพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ร้อยละของโครงการสนับสนุนเสริมการดำเนินการเสร็จตามแผนที่กำหนด สรุปจำนวนโครงการ 12 เรื่อง

  44. 1.โครงการขยายการใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในผู้สูงอายุ1.โครงการขยายการใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในผู้สูงอายุ กิจกรรม มีแผน/โครงการนิเทศติดตามงานรองรับ(สคร.) จัดหาและสนับสนุนวัคซีนไข้หวัดใหญ่(สรต./สคร.) ดำเนินการปี2552

  45. 2.โครงการประชุมพัฒนาเครือข่ายบุคลากรสาธารณสุข2.โครงการประชุมพัฒนาเครือข่ายบุคลากรสาธารณสุข กิจกรรม จัดประชุมพัฒนาเครือข่ายบุคลากรระดับเขต สสจ.(สรต.) ดำเนินการปี 2552 3.โครงการประชุมพัฒนาศักยภาพผู้นิเทศระดับจังหวัดในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน กิจกรรม จัดประชุมพัฒนาศักยภาพผู้นิเทศระดับจังหวัด (สรต.) ดำเนินการปี 2552

  46. 4.โครงการพัฒนาสื่อสารสาธารณะโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ4.โครงการพัฒนาสื่อสารสาธารณะโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ กิจกรรม 1.1 Mass campaign โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป 1.2 Area-based ขึ้นกับปัญหาในพ.ท ทำกิจกรรมในงานบุญต่างโดย การ ทำmodel development โดย สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่112.. ดำเนินการปี 2552-2554

  47. 5.โครงการพัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธ์สำหรับสื่อมวลชนวิทยุปี 2552 กิจกรรม • ขยายช่องทางการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์(คู่มือ สรต.) • จัดประชุมแกนนำสื่อสารมวลชนวิทยุ (สรต.) • ผลิตสื่อการ์ตูน บทความต้นแบบวีซีดี (สรต.) • เผยแพร่ประชาสัมพันธ์(สคร.1-12 วางแผนดำเนินการ) • ประเมินผลการรับรู้ (สคร.1-12 ตั้งงบประมาณ) ดำเนินการปี 2552-2554

  48. 6.โครงการติดตามการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอ6.โครงการติดตามการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอ กิจกรรม ติดตามเยี่ยมสสจ.ที่มีผลการดำเนินการกวาดล้างโปลิโอไม่บรรลุตามเกณฑ์มาตรฐานทั้ง 4 ประการ สุ่มค้นหาเวชระเบียนในโรงพยาบาลปีละ 2 ครั้งต่อจังหวัด(สคร.) สุ่มค้นหาเวชระเบียนในโรงพยาบาลทุก 3 เดือน (สสจ.) ดำเนินการปี2552-2554

  49. 7.โครงการรณรงค์วันป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโลกปี25527.โครงการรณรงค์วันป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโลกปี2552 กิจกรรม • จัดทำโครงการ "วันป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโลก" (World Rabies Day) เพื่อรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและลดความเสี่ยงจากการถูกสุนัขกัดปี2552 (สรต. สคร.) • จัดทำคำสั่งคณะทำงานรณรงค์ • ประชุมคณะทำงานเตรียมการจัดกิจกรรม • จัดทำหนังสือแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • จัดกิจกรรมวันป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโลกใน 12 เขต(สคร.) • รายงานผลการจัดวันป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโลก • ปีดำเนินการ 2552-2554

  50. 8.โครงการศึกษาพฤติกรรมการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าโดยประยุกต์ใช้แนวคิดการตลาดเชิงสังคมของประชาชนจังหวัดบุรีรัมย์8.โครงการศึกษาพฤติกรรมการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าโดยประยุกต์ใช้แนวคิดการตลาดเชิงสังคมของประชาชนจังหวัดบุรีรัมย์ กิจกรรม 1.ศึกษาแนวคิดตามแนวคิดการตลาดเชิงสังคม 2.การเลือกพื้นที่เป้าหมายและกลุ่มหมาย 3.ศึกษาสถานการณ์และข้อมูลเชิงคุณภาพตามองค์ประกอบ 4P 4.รวบรวมข้อมูลก่อนดำเนินกิจกรรม -วิเคราะห์ข้อมูลและวางแผนกิจกรรม -คิดเนื้อหาและพัฒนาสื่อ 5.ดำเนินงานตามแผนที่จัดวางไว้ 6.ประเมินผลของการดำเนินงาน 7.ขั้นการป้อนข้อมูลย้อนกลับ

More Related