310 likes | 460 Views
สรุปความเห็นจากแบบสอบถาม 90 สถาบันปฏิบัติงานแพทย์เพิ่มพูนทักษะ. จำนวนโรงพยาบาลที่ตอบแบบสอบถาม (n = 90). ระยะเวลาปฏิบัติงาน ศัลยกรรมกระดูก 1 เดือน. เห็นด้วย. 95.6%. ระยะเวลาปฏิบัติงาน อายุรกรรม 3 เดือน. เห็นด้วย. 94.4%. ระยะเวลาปฏิบัติงาน กุมาร 2 เดือน. เห็นด้วย. 94.4%.
E N D
สรุปความเห็นจากแบบสอบถาม 90 สถาบันปฏิบัติงานแพทย์เพิ่มพูนทักษะ
จำนวนโรงพยาบาลที่ตอบแบบสอบถาม (n = 90)
ระยะเวลาปฏิบัติงาน ศัลยกรรมกระดูก 1 เดือน เห็นด้วย 95.6%
ระยะเวลาปฏิบัติงาน อายุรกรรม 3 เดือน เห็นด้วย 94.4%
ระยะเวลาปฏิบัติงาน กุมาร 2 เดือน เห็นด้วย 94.4%
ระยะเวลาปฏิบัติงาน ศัลยกรรม 2 เดือน เห็นด้วย 93.7%
ระยะเวลาปฏิบัติงาน สูตินรีเวช 2 เดือน เห็นด้วย 93.3%
ระยะเวลาปฏิบัติงาน เวชปฏิบัติ 2 เดือน เห็นด้วย 82.2%
ข้อเสนอที่ไม่เห็นด้วยกับ การปฏิบัติงานเวชปฏิบัติ 2 เดือน • ผ่าน 1 เดือน พอ (n=3) • ควรอยู่ที่สถาบันฝึกปฏิบัตินั้น (n=1) • ควรผ่าน 2.5 เดือน (n=1) • วิชาเลือกแค่ 1 เดือนก็พอแล้ว (นศพ.ผ่านวิชาเลือกมาหลายครั้งแล้ว) ควรผ่าน ER Eye ENT แทน (n=1) • ไม่ระบุ (n=1) • ไม่ต้องผ่าน (n=1) • ปฏิบัติงานอุบัติเหตุที่ รพ.เพิ่มพูนทักษะแทน (n=1) • ไม่ควรผ่าน เพราะต้องออกปฏิบัติงานในปีที่ 2 อยู่แล้ว ทำให้เสียเวลา • การได้เพิ่มพูนทักษะภายในสถานที่มีผู้ให้การปรึกษา (n=1)
เห็นด้วยทุกข้อ ตามที่กำหนด (อายุร 3 ศัลย 2 กระดูก1 สูติ 2 กุมาร 2 ทั่วไป 2) 29% (n = 64) 71% เห็นด้วย
ระยะเวลาปฏิบัติงาน อยู่เวรไม่มากกว่า 15 เวร/เดือน เห็นด้วย 79%
ข้อเสนอที่ไม่เห็นด้วยกับอยุ่เวรไม่มากกว่า 15 เวร/เดือน • 10-12 เวร/เดือน (n = 1) • 15 วัน (ไม่ใช่ 15 เวร) (n = 1) • 20 เวร/เดือน (n = 1) • ตามความเหมาะสมและสมัครใจของแพทย์เพิ่มพูนทักษะ (n = 1) • ไม่เกิน 10 เวร/เดือน (n = 1) • ไม่มากกว่า 20 เวร/เดือน (n = 1) • อาจยืดหยุ่นได้ (n = 1) • ไม่ระบุความเห็น (n = 3)
การกำหนดจำนวนแพทย์เพิ่มพูนทักษะ 15 เตียง/ แพทย์ พพท.1 คน หรือ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ/ แพทย์ พพท. 1 คน ค่าที่ต่ำกว่า ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย 76.7%
ข้อเสนอที่ไม่เห็นด้วย กับ การคำนวนจำนวนแพทย์เพิ่มพูนทักษะ • 1. จำนวนเตียง 10 เตียงต่อแพทย์เพิ่มพูน 1 คน • 2. แพทย์ผู้เชียวชาญ แต่ละสาขา 1 คน ต่อแพทย์เพิ่มพูนทักษะ 2 คน (n=1) • การคิดจาก จำนวนเตียงผู้ป่วยใน ควรคิดจากจำนวนภาระงานจริง ๆ (n=1) • กำหนด พชท จำนวนผู้ป่วยใน และความเหมาะสมของสถานที่ว่าสามารถ • รับได้เท่าใด การคำนวนจากจำนวนแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไม่สามารถได้ ตัวเลขแท้จริง เพราะไม่ได้ service ทุกคน (n=1) • ควรถามความต้องการแต่ละรพ เพราะบางแห่งมีปริมาณงานสูง แต่แพทย์ เชี่ยวชาญไม่เพียงพอ เมื่อให้ Intern น้อย ก็จะยิ่ง load งานมาก • ขึ้น (n=1) • ควรเป็นค่าที่สูง (n=1)
ข้อเสนอที่ไม่เห็นด้วย กับการคำนวนจำนวนแพทย์เพิ่มพูนทักษะ (ต่อ) • ควรพิจารณาจากขนาดสถานะรพ.ด้วย เช่น รพ.ศูนย์มีความพร้อมกว่า • เพิ่มจำนวนได้ (n=1) • ควรเลือกค่าที่สูงกว่า (n=1) • ความขาดแคลนแพทย์ของ รพ. ความสามารถในการดูแลของแพทย์พี่เลี้ยง (n=1) • ค่าเฉลี่ยของ จำนวนเตียง และ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ (n=1) • ค่าเฉลี่ยที่ต่ำของจำนวนผู้ป่วยในจริง หรือจำนวนเตียงแต่ละสาขา 20เตียง/แพทย์ ใช้ทุน 1คน (n=1) • คิดเฉพาะจำนวนเตียง (เพราะ จำนวนแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ไม่ใช่ปัจจัยที่สำคัญ เพราะ รพท.จะมีขนาดคงที่อยู่แล้ว) (n=1) • จำนวนเตียงผู้ป่วยใน (n=1)
ข้อเสนอที่ไม่เห็นด้วย กับ การคำนวนจำนวนแพทย์เพิ่มพูนทักษะ (ต่อ) • น่าจะคิดตามจำนวนเตียง และแพทย์ผู้เชียวชาญ (n=1) • คิดตาม GIS ของประชากร เทียบกับแพทย์ที่ขาดแคลนและประเมินโรงพยาบาล ในพื้นที่ ขาดแคลนว่ามีศักยภาพ ดูแลแพทย์เพิ่มพูนได้กี่ท่าน (n=1) • พิจารณาความพร้อมของ staff ผู้บริหาร case ที่จะได้เรียนรู้ เช่น รพ. สมเด็จพระสังฆราชฯ มีศัลยกรรม 1 ท่าน แต่มีสูติแพทย์ และ ortho หลายท่าน พร้อมสอน gen surgery ได้ (n=1) • เพิ่มหัวข้อเรื่องภาระงาน จำนวนผู้ป่วยที่รับจริง มาพิจารณาร่วมด้วย (n=1) • ระบุสิ่งที่ควรเป็น ควรมีค่าขั้นต่ำของแพทย์เพิ่มพูนทักษะในแต่ละรพ.ตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไป เนื่องจากต้องมีการออกสู่รพ.ชุมชนทำให้หากมี พชท.น้อยจะมี ผลกระทบต่อการจัดทำ วิชา การของ พชท.ที่จะมีการเข้าร่วมน้อยเกินไป (n=1)
ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเห็นว่า ห้องสมุดไม่ค่อยมีความจำเป็น เพราะ Internet สืบค้นได้ดีกว่า 63.3% 35.7%
ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเห็นว่า โครงการแพทย์เพิ่มพูนทักษะ มีเพื่อ ...
ความเห็นอื่น เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ โครงการแพทย์เพิ่มพูนทักษะ • medical society (n=1) • เนื่องจากโรงเรียนแพทย์ใหญ่ ๆ ในปัจจุบัน caseค่อนข้างซับซ้อนไม่เหมาะสำหรับฝึก Residentหรือ Fellowมากกว่าทำให้มีประสบการณ์ในการทำงานทางคลินิก ค่อนข้างน้อย (n=1) • เป็นการฝึกที่อยู่ในการควบคุมของแพทย์ประจำอยู่ทำให้แพทย์ได้ปรับตัวอยู่ 1 ปี หลังจากไป จากโรงพยาบาลแพทย์ (n=1) • เป็นการรู้จักแพทย์เพิ่มพูนทักษะ เพื่อประกอบการพิจารณาให้ทุนเรียนต่อ (n=1) • เพื่อรับรองการฝึกอบรมแพทย์พี่เลี้ยงและสอนวุฒิบัตร ในสาขา ต่าง ๆ (n=1) • มีโอกาสได้สังเกตการณ์และทบทวนความรู้วิชามากกว่าในรพ.ทั่วไป เนื่องจากมีกิจกรรม วิชาการที่มากกว่า (n=1) • เรียนรู้ความเป็นแพทย์ในชีวิตจริง (n=1) • สนิทสนมแพทย์ในรพ.ทั่วไป และทำงานร่วมกัน เมื่อพ้นเพิ่มพูนทักษะแล้วไปปฏิบัติงานในรพ. ชุมชนจะได้ปรึกษา ส่งต่อผู้ป่วย และให้บริการที่ดี (n=1) • เสริมสร้าง วุฒิภาวะ และ Maturityของแพทย์ (n=1)
เมื่อผ่านโครงการแพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรทำหัตถการต่อไปนี้ได้ด้วยตนเอง
ลำดับความสำคัญของกิจกรรมทางวิชาการลำดับความสำคัญของกิจกรรมทางวิชาการ ลำดับที่
กิจกรรมทางวิชาการอื่นๆกิจกรรมทางวิชาการอื่นๆ • MM conf (n=4) • dead case conf consultation round (n=1) • Death care conference (n=2) • Inter-department , referral conf (n=1) • Interdepartmental MM Conf (n=1) • skill lab (n=1)
ทักษะทั่วไป ของแพทย์เพิ่มพูนทักษะ ที่ควรมี ..
จาก 90 โรงพยาบาล เห็นว่าแพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป
โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย เห็นว่า แพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป
โรงพยาบาลระดับศูนย์ เห็นว่า แพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป
โรงพยาบาลระดับทั่วไป เห็นว่า แพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป
โรงพยาบาลทั่วไป เสนอว่า ควรฝึก ณ สถานที่.. • รพ.ชุมชน (n=3) • รพ.ชุมชนขนาด 60 เตียงขึ้นไป(n=1)
โรงพยาบาลชุมชน เห็นว่า แพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป
โรงพยาบาลชุมชนเสนอว่า ควรฝึก ณ สถานที่ .. • รพ.ชุมชน ขนาดใหญ่ ที่มีศักยภาพเพียงพอ (n=1) • โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ที่มีแพทย์เฉพาะทาง สาขาหลักครบและมีความพร้อมด้านบุคลากร เครื่องมือ เวชภัณฑ์ (n=1) • โรงพยาบาลชุมชนมีศักยภาพเพียงพอ(n=1)
โรงพยาบาลสังกัดกลาโหม เห็นว่า แพทย์เพิ่มพูนทักษะ ควรฝึก ณ สถานที่.... จึงเหมาะสม (ตามลำดับ) ลำดับที่ โรงเรียนแพทย์ รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป