140 likes | 326 Views
การแต่งตั้งตาม พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนฉบับใหม่. โครงสร้างตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในปัจจุบัน. ระบบจำแนกตำแหน่ง (Position Classification System) นำมาใช้ในการบริหารงานบุคคลแทนระบบชั้นยศเดิม ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 จัดโครงสร้างทุกตำแหน่งตามระดับมาตรฐานกลาง ( Common Level) เป็น 11 ระดับ.
E N D
การแต่งตั้งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนฉบับใหม่การแต่งตั้งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนฉบับใหม่ สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน
โครงสร้างตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในปัจจุบัน ... • ระบบจำแนกตำแหน่ง (Position Classification System) นำมาใช้ในการบริหารงานบุคคลแทนระบบชั้นยศเดิม ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 • จัดโครงสร้างทุกตำแหน่งตามระดับมาตรฐานกลาง (Common Level) เป็น 11 ระดับ ระดับ 11 ปลัดกระทรวง / ผู้ทรงคุณวุฒิ ระดับ 10 อธิบดี / รองปลัดกระทรวง / ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 รองอธิบดี / ผอ.สำนัก / ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 8 ผอ.กอง หัวหน้ากลุ่มงาน ระดับ 7 หัวหน้าฝ่าย /งาน ระดับ 3-5 หรือ 6 ระดับ 2-4 หรือ 5 ระดับปฏิบัติการ ระดับ 1-3 หรือ 4 สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน
เดิม ใหม่ ระดับสูง (10-11) ระดับสูง (9) ทรงคุณวุฒิ (10-11) ระดับต้น (9-10) ระดับ 11 เชี่ยวชาญ (9) ระดับต้น (8) ระดับ 10 ทักษะพิเศษ 9 ชำนาญการพิเศษ (8) ระดับ 9 ระดับอาวุโส (7-8) ระดับ 8 ชำนาญการ (6-7) ชำนาญงาน (5-6) ระดับ 7 ปฏิบัติการ (3-5) ระดับ 3-5 หรือ 6 ระดับ 2-4 หรือ 5 ระดับ 1-3 หรือ 4 ปฏิบัติงาน (1-4) วิชาการ อำนวยการ บริหาร ทั่วไป สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน
มาตรา 42 การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญ ตาม พรบ.นี้ ให้คำนึงถึงระบบคุณธรรม ดังนี้ 1. การรับบุคคลเพื่อบรรจุเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งต้องคำนึงถึงความรู้ความสามารถของบุคคล ความเสมอภาค และความเป็นธรรม 2. การบริหารทรัพยากรบุคคล ต้องคำนึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององค์กรและลักษณะของงาน โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม 3. การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตำแหน่ง และการให้ประโยชน์อื่นแก่ข้าราชการต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรม โดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และความประพฤติ และจะนำความคิดเห็นทางการเมืองหรือสังกัดพรรคการเมืองมาประกอบการพิจารณามิได้ 4. การดำเนินการทางวินัย ต้องเป็นไปด้วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ 5. การบริหารทรัพยากรบุคคลต้องมีความเป็นกลางทางการเมือง
มาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้งมาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้ง ม.63 วรรคแรก “ การย้าย การโอน หรือการเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญในหรือต่างกระทรวงหรือกรม แล้วแต่กรณี ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.พ. ” สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน
มาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้งมาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้ง ม.63 วรรคสอง “ การโอนข้าราชการพลเรือนสามัญจากกระทรวง หรือกรมหนึ่ง ไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญในต่างประเทศสังกัดอีกกระทรวงหรือกรมหนึ่ง เป็นการชั่วคราวตามระยะเวลาที่กำหนด ให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.กำหนด ” สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน
มาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้งมาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้ง ม.63 วรรคสาม “ การย้ายหรือการโอนข้าราชการพลเรือนสามัญไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิม จะกระทำมิได้เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากข้าราชการพลเรือนสามัญผู้นั้น ” สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน
มาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้งมาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้ง ม.63 วรรคสี่ “ การบรรจุข้าราชการพลเรือนสามัญที่ออกจากราชการไปเนื่องจากถูกสั่งให้ออกจากราชการ เพื่อไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร หรือได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ให้ไปปฏิบัติงานใด ๆ ซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นสำหรับการคำนวณบำเหน็จบำนาญเหมือนเต็มเวลาราชการ หรือออกจากราชการไปที่มิใช่เป็นการออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ กลับเข้ารับราชการในกระทรวงหรือกรม ... ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.กำหนด” สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน
มาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้งมาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้ง ม.64 วรรคแรก “ การโอนพนักงานส่วนท้องถิ่น การโอนข้าราชการที่ไม่ใช่ข้าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัตินี้และไม่ใช่ข้าราชการการเมือง และการโอนเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานอื่นของรัฐที่ ก.พ.กำหนดมาบรรจุเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ตลอดจนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด และให้ได้รับเงินเดือนเท่าใด ให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.กำหนด” สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน
มาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้งมาตราที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุและแต่งตั้ง ม.65 วรรคแรก “พนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งมิใช่ออกจากงานในระหว่างทดลองปฏิบัติงานหรือข้าราชการที่ไม่ใช่ข้าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัตินี้ และไม่ใช่ ข้าราชการเมืองข้าราชการวิสามัญหรือข้าราชการซึ่งออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ผู้ใดออกจากงานหรือออกจากราชการไปแล้ว ถ้าสมัครเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ และทางราชการต้องการจะรับ....ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.กำหนด” สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน
หลักการ • เน้นหลักความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญในสายงานที่จะแต่งตั้ง โดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพและความประพฤติ (ม.42) • เน้นหลักความโปร่งใส เป็นธรรมและตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอน • เน้นหลักการกระจายอำนาจการบริหารงานบุคคล โดยยึดหลักระบบคุณธรรมควบคู่กับระบบการคัดคนเก่ง/คนดี และประโยชน์ของทางราชการ สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน
การจัดทำร่างกฎ ก.พ./นว. ม.63 วรรคแรก กฎ ก.พ. ว่าด้วยการย้าย การโอน และการเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญ ม.63 วรรคสี่ นว. หลักเกณฑ์และวิธีการบรรจุกลับกรณีไปรับราชการทหาร /ไปตามมติ ค.ร.ม. / ลาออกปกติ ม.64 นว. หลักเกณฑ์และวิธีการรับโอนข้าราชการ /พนักงานตามกฎหมายอื่น ม.65 นว. หลักเกณฑ์และวิธีการบรรจุกลับข้าราชการ /พนักงานตามกฎหมายอื่น
แนวคิดการบรรจุแต่งตั้ง ? ? ? ? S2 K5 ? S1 M2 K4 ? ? ? M1 O4 ? K3 บริหาร ? O3 K2 อำนวยการ O2 ? K1 O1 วิชาการ ทั่วไป สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน