1 / 12

แผนแม่บทการเงินระดับฐานราก

แผนแม่บทการเงินระดับฐานราก. ภาพรวมแนวทางการพัฒนาภาคการเงินที่มีอยู่ในปัจจุบัน. ตราสารทุน. แผนพัฒนา ตลาดทุน. การระดมทุนทางตรง (ตลาดทุน). ตราสารหนี้. ตราสารอนุพันธ์. ธพ., บง., บค. แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน. การระดมทุน ผ่านตัวกลาง ทางการเงิน (สินเชื่อ) *. ในระบบ. Non-bank.

Download Presentation

แผนแม่บทการเงินระดับฐานราก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนแม่บทการเงินระดับฐานรากแผนแม่บทการเงินระดับฐานราก

  2. ภาพรวมแนวทางการพัฒนาภาคการเงินที่มีอยู่ในปัจจุบันภาพรวมแนวทางการพัฒนาภาคการเงินที่มีอยู่ในปัจจุบัน ตราสารทุน แผนพัฒนา ตลาดทุน การระดมทุนทางตรง (ตลาดทุน) ตราสารหนี้ ตราสารอนุพันธ์ ธพ., บง., บค. แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน การระดมทุน ผ่านตัวกลาง ทางการเงิน (สินเชื่อ)* ในระบบ Non-bank แผนพัฒนาธุรกิจ Non-bank บริษัทประกัน แนวทางการเสริมสร้าง ความแข็งแกร่งของ SFIs SFIs กึ่งในระบบ สหกรณ์, สทบ., เครดิตยูเนี่ยน, กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต แผนแม่บทการเงิน ระดับฐานราก พึ่งตนเอง องค์กรการเงินทั่วไป

  3. ความหมายขององค์กรการเงินระดับฐานรากความหมายขององค์กรการเงินระดับฐานราก องค์กรที่ดำเนินกิจกรรมทางการเงินที่เน้นการให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนที่อยู่ในชุมชน ซึ่งมีความแตกต่างกันตามสภาพแวดล้อม/ประเพณีและความเชื่อ ในแต่ละท้องถิ่น • ธุรกรรมหลักขององค์กรการเงินระดับฐานราก • การรับฝากเงิน • การให้สินเชื่อ • การจัดสวัสดิการชุมชน ประเภทขององค์กรการเงินระดับฐานราก 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ มี 1,227 แห่ง 2. กองทุนหมู่บ้าน 78,013 แห่ง 3. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต อ.ชัยบาดาล จ. ลพบุรี 4. กลุ่มออมทรัพย์ทั่วไป เช่น กลุ่มสัจจะ ออมทรัพย์ ของ นายอัมพร ด้วงปาน

  4. การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน (SWOT Analysis)

  5. ตัวอย่างความซ้ำซ้อนในการส่งเสริมการพัฒนาการเงินฐานรากตัวอย่างความซ้ำซ้อนในการส่งเสริมการพัฒนาการเงินฐานราก 3.1 การให้กู้ / รับฝาก 7. สร้างกลไกในการบูรณาการหน่วยงานภาคีฯ 3.2 ธุรกิจชุมชน 3. ส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มและกิจกรรมต่อยอด 3.3 สวัสดิการสมาชิก / ชุมชน 4.1 ทะเบียนกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมต่อยอด 3.4 ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ 4.2 ระบบข้อมูลชุมชน 3.5 ธนาคารชุมชน 4.3 มาตรฐานและตัวชี้วัด 4. สนับสนุนการรับรองกลุ่ม 3.6 วิสาหกิจชุมชน 1. ภาครัฐ 4.4 การเป็นนิติบุคคล 3.7 ขยายกิจกรรมพัฒนา จัดตั้ง กลุ่ม 2. ส่งเสริมความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ 2.1 พัฒนาระบบบัญชี 6.1 บริหารทุน / เศรษฐกิจ 2.2 บริหารจัดการทั่วไป 5. ส่งเสริมการสร้างเครือข่าย 6. ส่งเสริมการพัฒนาระบบทุนในสังคม 6.2 การเข้าถึงแหล่งทุน 5.1 ส่งเสริมกิจกรรมเครือข่าย 2.3 บริหารจัดการทุน (สินเชื่อ) 6.3 เครือข่ายกลุ่มการเงิน 5.2 พัฒนาเครือข่ายและชุมชน 6.4 วิจัยการพัฒนาระบบทุน 5.3 หารูปแบบบริหารเครือข่าย 6.5 การเป็นนิติบุคคล แสดงถึงปริมาณหน่วยงานที่มีบทบาทในกิจกรรมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบการเงินระดับฐานราก

  6. แนวคิดในการสร้างความเข้มแข็งให้องค์กรการเงินระดับฐานรากแนวคิดในการสร้างความเข้มแข็งให้องค์กรการเงินระดับฐานราก กรอบแนวคิดที่ได้จากการสำรวจ: ส่งเสริมให้องค์กรการเงินระดับฐานรากพึ่งพาตนเอง และมีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพโดยชุมชนเอง โดยคงไว้ซึ่งความเป็น อิสระในฐานความคิดของชุมชน มุงเน้นองค์กรระดับตำบล เนื่องจากมีลักษณะชุมชน ความต้องการปัจจัย การผลิต ปรัชญา และสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียงกัน หน่วยงานภาครัฐควรปรับบทบาทจากการเป็นผู้นำไปเป็น ผู้สนับสนุนให้เกิดการพึ่งพาตนเองของชุมชน และเอื้อให้เกิดการเชื่องโยง องค์ความรู้และเงินทุนระหว่างชุมชน

  7. แผนแม่บทการเงินระดับฐานรากแผนแม่บทการเงินระดับฐานราก

  8. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติ ยุทธศาสตร์รัฐบาล นโยบายฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ แผนแม่บทชุมชน สวัสดิการ องค์กรการเงินระดับ ฐานราก (เข้มแข็ง) ชุมชน (ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส) วิสาหกิจชุมชน แผนแม่บทการเงินระดับฐานราก กรอบการดำเนินการสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนองค์กรการเงินระดับฐานราก เพื่อนำไปสู่แผนปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม

  9. ยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทการเงินระดับฐานรากยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทการเงินระดับฐานราก แผนแม่บทการเงินระดับฐานราก ยุทธศาสตร์ 1 พัฒนาคนและสร้างความ เข้มแข็งให้องค์กรการเงินระดับฐานราก ประกอบด้วย 8 แผนงาน 24 มาตรการ ยุทธศาสตร์ 2 บูรณาการการทำงาน ของภาครัฐและภาคีที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย 2 แผนงาน 2มาตรการ ยุทธศาสตร์ 3 การสร้าง เครือข่ายและขยายผล ประกอบด้วย 2 แผนงาน 4 มาตรการ

  10. ยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทการเงินระดับฐานรากยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทการเงินระดับฐานราก แผนแม่บทการเงินระดับฐานราก ยุทธศาสตร์ 1พัฒนาคนและสร้างความ เข้มแข็งให้องค์กรการเงินระดับฐานราก ยุทธศาสตร์ 2 บูรณาการการทำงาน ของภาครัฐและภาคีที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ 3 การสร้าง เครือข่ายและขยายผล 1. การสร้างเครือข่ายการจัดการ องค์ความรู้ 2. แผนส่งเสริมการขยายผล การพัฒนาองค์ก การเงินระดับ ฐานราก โดยการเรียนรู้ร่วมกัน จากโครงการ ตัวอย่างที่ประสบ ความสำเร็จ 1. สร้างจิตสำนึกและส่งเสริมการออม และวินัยการเงิน 2. สนับสนุนการจัดทำกรอบทิศทางการดำเนินงาน ขององค์กรการเงิน 3. สร้างฐานข้อมูลกลางการเงินชุมชน 4. เพิ่มขีดความสามารถในการเข้าสู่แหล่งทุน 5. แผนสนับสนุนเพื่อเพิ่มรายได้ และลดรายจ่ายให้ชุมชน 6. บูรณาการการเงินภายในชุมชน 7. เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการ ภายในองค์กรการเงินระดับฐานราก 8. ส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน • บูรณาการทำงานของหน่วยงานภาครัฐและ • ภาคีที่เกี่ยวข้อง • 2. การรับรองสถานภาพขององค์กรการเงินระดับฐานราก

  11. แผนแม่บทฯ ช่วยลดปัญหาในระบบการเงินระดับฐานราก ปัญหาความยั่งยืนของการเงินชุมชน: แก้ปัญหาการยึดติดกับภาวะผู้นำ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคนและการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างองค์กรการเงิน ปัญหาความมีเสถียรภาพขององค์กรการเงิน: แก้ปัญหาการขยายตัวขององค์กรการเงินระดับฐานรากอย่างรวดเร็ว โดยมุ่งเน้นให้องค์กรการเงินมีกรอบการดำเนินงานที่ชัดเจน และเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะด้านการบริหารความเสี่ยง

  12. THANK YOU www.fpo.go.th

More Related