410 likes | 1.18k Views
การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะ พยาบาลออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม. สมรรถนะพยาบาล. พฤติกรรมที่พยาบาลแสดงออกถึงการนำความรู้ ความเชี่ยวชาญ ทักษะการปฏิบัติ การพยาบาลตามบทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะอื่นๆ มาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุผลในการดูแลผู้ป่วยได้ดี. Competency pyramid.
E N D
การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะการพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะ พยาบาลออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม
สมรรถนะพยาบาล พฤติกรรมที่พยาบาลแสดงออกถึงการนำความรู้ ความเชี่ยวชาญ ทักษะการปฏิบัติ การพยาบาลตามบทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะอื่นๆ มาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุผลในการดูแลผู้ป่วยได้ดี
Competency pyramid พฤติกรรม ความรู้ ทักษะ ความถนัด คุณลักษณะ Lucia and Lepsinger, 1999
ทบทวนวรรณกรรม • มาตรฐานการพยาบาลออร์โธปิดิกส์ CONA (2000) NAON (2001) • สมรรถนะของพยาบาลออร์โธปิดิกส์ CNA (2005) ปิยธิดา อยู่สุข (2005) • Model of othopaedic nursing Santy (2001)
แนวโน้มการพยาบาลออร์โธปิดิกส์แนวโน้มการพยาบาลออร์โธปิดิกส์ ภาวะสุขภาพ (Health) บริการสุขภาพ (Care setting) การศึกษาวิจัย (Education & Research) ภาวะผู้นำ (leadership)
การพัฒนามาตรประมาณค่าแบบยึดพฤติกรรม Springer et al. (1998) • สร้างขอบเขต และกำหนดนิยามโดยผู้เชี่ยวชาญ • รวบรวมรายการพฤติกรรมที่แสดงถึงการปฏิบัติงานในหน้าที่ในแต่ละองค์ประกอบที่ทำการประเมิน • ตรวจสอบยืนยันการจัดกลุ่มในแต่ละพฤติกรรม • แปลงพฤติกรรมให้อยู่ในรูปมาตรวัด โดยผู้ตัดสินอีกกลุ่ม • วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • นำพฤติกรรมที่ได้มาสร้างเป็นแบบประเมิน • ทดสอบประสิทธิภาพมาตรวัด
วิสัยทัศน์พันธกิจ ร.พ. กลาโหม แบบประเมินสมรรถนะ มาตรประมาณค่า แบบยึดพฤติกรรม 4 ระดับ (Behaviorally Anchored Rating Scale: BARS) สมรรถนะ พยาบาลออร์โธฯ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม ทบทวนเอกสาร สมรรถนะและ มาตรฐานการพยาบาล ออร์โธปิดิกส์ สนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ เกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะพยาบาลออร์โธฯ ก.ห.
ขั้นตอนดำเนินการวิจัยขั้นตอนดำเนินการวิจัย • ขั้นตอนที่ 1 สร้างแบบประเมิน • ขั้นตอนที่ 2 กำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะ 2.1 นำแบบประเมินที่พัฒนาขึ้นไปใช้ 2.2 สร้างเกณฑ์ตัดสินผลการประเมิน
ขั้นตอนที่ 1สร้างแบบประเมิน สนทนากลุ่มครั้งที่ 1 ผู้เชี่ยวชาญด้านบริหารและวิชาการพยาบาลออร์โธฯ ร.พ.ภูมิพลอดุลยเดช ร.พ.พระมงกุฎเกล้า ร.พ.สมเด็จพระปิ่นเกล้า ร.พ.สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก 7 คน สมรรถนะ 7 ด้าน ข้อรายการสมรรถนะ 28 ข้อ
การสร้างแบบประเมิน สนทนากลุ่มครั้งที่ 2 ผู้เชี่ยวชาญปฏิบัติการพยาบาลออร์โธฯ ร.พ.พระมงกุฎเกล้า ร.พ.ภูมิพลอดุลยเดช ร.พ.สมเด็จพระปิ่นเกล้า ร.พ.สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ 7 คน รายการสมรรถนะ 25ข้อ + พฤติกรรม 97 ข้อ
สมรรถนะพยาบาลออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม สมรรถนะ 1การพยาบาลเฉพาะทางออร์โธปิดิกส์ สมรรถนะ 2การจัดการความเสี่ยง/ภาวะแทรกซ้อน สมรรถนะ 3 การส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพ สมรรถนะ 4 เทคนิคการใช้อุปกรณ์ สมรรถนะ 5 การสื่อสารและประสานงาน สมรรถนะ 6 การเป็นผู้นำในการบริหารจัดการ สมรรถนะ 7 วิชาการและการวิจัยทางการพยาบาล
แบบประเมินโดยให้ค่าคะแนนใช้พฤติกรรมกำหนด (Behaviorally Anchored Rating Scale: BARS) 4 ระดับ • ระดับ 1 ควรปรับปรุง แสดงถึงพฤติกรรมที่ดูแลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ได้เบื้องต้น หรือยังไม่ครบถ้วน • ระดับ 2 ปานกลาง/พอใช้ แสดงถึงพฤติกรรมที่ปฏิบัติตามแนวทาง/มาตรฐานได้ถูกต้อง • ระดับ 3 ดี แสดงถึงพฤติกรรมที่แก้ปัญหา ในการปฏิบัติงานที่ซับซ้อนได้ต่อเนื่อง ทันเหตุการณ์ • ระดับ 4 ดีเลิศ แสดงถึงพฤติกรรมที่ปรับปรุงพัฒนาการดูแลผู้ป่วยเหมาะสมหรือใช้ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์
สมรรถนะพยาบาลออร์โธปิดิกส์โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหมสมรรถนะพยาบาลออร์โธปิดิกส์โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม เฉพาะทาง วิชาการ จัดการ ความเสี่ยง พยาบาล ออร์โธฯ ฟื้นฟูสมรรถภาพ สื่อสาร บริหาร เทคนิค
ขั้นตอนที่ 2.1นำแบบประเมินไปใช้ ประเมินสมรรถนะ VS ประเมินผลการปฏิบัติงาน
2.2กำหนดเกณฑ์ตัดสินผลประเมิน2.2กำหนดเกณฑ์ตัดสินผลประเมิน แนวทางในพิจารณามี 2 ส่วน คือ • ส่วนที่เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical) หมายถึง การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานยึดข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ได้จากผลการนำแบบสอบไปทดลองใช้ก่อน • ส่วนที่เป็นการตัดสินของผู้เชี่ยวชาญ (Judgmental) หมายถึง การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานนั้นยึดผลการพิจารณาจากข้อมูลสรุปของผู้เชี่ยวชาญเป็นหลัก
เปรียบเทียบผลการประเมินเปรียบเทียบผลการประเมิน
การพัฒนาสมรรถนะ • ด้านวิชาการและการวิจัย • ด้านการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพ • ด้านจัดการความเสี่ยง/ ภาวะแทรกซ้อน