10 likes | 90 Views
www.sepo.go.th. บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำกัด (ธพส.). ข้อมูลทั่วไป. พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. สังกัด : กระทรวงการคลัง ประธานกรรมการ : นายวินัย วิทวัสการเวช กรรมการผู้แทน กค. : นายวินัย วิทวัสการเวช
E N D
www.sepo.go.th บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำกัด (ธพส.) ข้อมูลทั่วไป พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สังกัด: กระทรวงการคลัง ประธานกรรมการ : นายวินัย วิทวัสการเวช กรรมการผู้แทน กค. :นายวินัย วิทวัสการเวช นายมนัส แจ่มเวหา นายประสิทธิ์ สืบชนะ นายวัฒนา เชาวสกู นายสุวิชญ์ โรจนวานิช Website : www.dad.co.thโทร. 0 2592 1800 • คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย • กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม. 9) • จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11 คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11 คน ก็ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คน(ม. 6) • การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) • วาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีกรรมการที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง (ไม่ใช้บังคับแก่กรรมการของบริษัทจำกัด) แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ (ม. 8) • การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการที่กระทรวงการคลังจัดทำขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12/1 วรรค 1) • การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด • กรรมการผู้จัดการ (CEO) : นายสุระชัย เอี่ยมวชิรสกุล • สัญญาจ้างลงวันที่: 26 พฤษภาคม 2551 • ระยะเวลาจ้าง: 1มิ.ย. 51 – 31 พ.ค. 55 • วาระที่ 1 วาระที่ 2ตำแหน่งเดิมก่อนเป็น CEO • Board รอง CEO บุคคลภายนอก • (รอง ผอ. สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน) • รอง CEO พนักงาน สัญญาจ้าง • CFO พนักงาน สัญญาจ้าง สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลังSTATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อบังคับของบริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำกัด • ข้อบังคับนี้ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมตั้งบริษัท เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2547 • ธพส. จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2547เพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งในการบริหารจัดการทรัพย์สินของรัฐและสินทรัพย์อื่นๆ ให้สามารถนำมาพัฒนา ในเชิงเศรษฐกิจและสังคม มีการบริหารจัดการสินทรัพย์สมัยใหม่ ตลอดจนเทคนิควิธีการในการแปลงสินทรัพย์ให้เป็นหลักทรัพย์ • วัตถุประสงค์ ของ ธพส. มี 33 ข้อ • โดย ธพส. มีวัตถุประสงค์หลัก โดยยกตัวอย่าง ดังนี้ • (1) ประกอบธุรกิจบริการรับเป็นผู้จัดการและดูแล ผลประโยชน์ และจัดการทรัพย์สิน • ให้กับองค์กรของภาครัฐและเอกชน • (3) ทำการรับซื้อ โอน ร่วมลงทุน แสวงหาผลประโยชน์ ลงทุนในหลักทรัพย์หรือหลักประกัน เข้าเป็นหุ้นส่วนจำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ไม่ว่าห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัดนั้น จะมีวัตถุประสงค์ตรงกันกับบริษัทหรือไม่ก็ตาม • (4) ซื้อ หรือเพื่อให้ได้มาด้วยการอย่างอื่นซึ่งที่ดิน ภาระจำยอม หรือสิทธิอื่นในที่ดิน เพื่อก่อสร้างสำนักงาน โรงงาน หรืออาคารอื่นใด • (6) ประกอบกิจการค้าที่ดิน จัดสรรที่ดิน ที่ดินพร้อมทั้งสิ่งปลูกสร้าง จัดสรรที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม โดยจัดแบ่งเป็นแปลงพร้อมสิ่งปลูกสร้าง หรือจัดแบ่งขายเฉพาะที่ดิน เงินเดือนพนักงาน กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน คณะกรรมการกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น Min-max ของเงินเดือน : 6,000 – 150,000 บาท อัตราเงินเดือนแรกบรรจุ (ปริญญาตรี 4 ปี): 10,000 บาท จำนวนพนักงาน : 135 คน(31 พ.ค. 54) มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป ยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรา 13 (2) พ.ร.บ.แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ ในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 • บริษัทจะถือหุ้นหรือรับจำนำหุ้นของบริษัทเองไม่ได้ (ข้อ 7) • คณะกรรมการมีอำนาจในการกำหนดหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงบุคคลผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท (ข้อ 15) ไม่ปรากฏข้อเท็จริงว่ามีโครงการที่ปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ • จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ. • คณะกรรมการของบริษัทจะถึงมีจำนวนเท่าใด ให้ที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นเป็นผู้กำหนด(ข้อ 8) • ให้คณะกรรมการแต่งตั้งกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ต้องไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของคณะกรรมการเป็นกรรมการบริหาร โดยให้แต่งกรรมการบริหารหนึ่งคนเป็นประธานกรรมการบริหาร และกรรมการบริหารอีกคนหนึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการและเลขานุการของคณะกรรมการบริหาร โดนอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย (ข้อ 16) • ให้คณะกรรมการเลือกตั้งกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ และหากเห็นสมควรจะเลือกตั้ง กรรมการอีกคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นรองประธานกรรมการก็ได้ (ข้อ 13) หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจจะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน ที่มาของข้อมูล สัญญาจ้างผู้บริหาร www.krisdika.go.th มติคณะรัฐมนตรี ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ • คุณสมบัติเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ : • -ไม่มี- • สิทธิพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง : • - ไม่มี- สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 2 ผู้อำนวยการส่วน : นายปัญญ์สุธา รายา ผู้จัดทำ : นายหัสดินทร์ แสนสระดี โทร. 0 2298 5880-9 ต่อ 6720 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54 (Update) สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง -ไม่มี- • ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง • ไม่ปรากฏความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้องกับ ธพส.