html5-img
1 / 29

การวิเคราะห์ภาระงานบุคลากร สายสนับสนุนในหน่วยบริการ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

การวิเคราะห์ภาระงานบุคลากร สายสนับสนุนในหน่วยบริการ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. แยกเป็น 3 กลุ่ม. 1. กลุ่มภารกิจอำนวยการ. 2. กลุ่มสนับสนุนบริการ. 3. ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา. การวิเคราะห์อัตรากำลัง กลุ่มภารกิจอำนวยการ. การวิเคราะห์อัตรากำลังภารกิจอำนวยการ.

Download Presentation

การวิเคราะห์ภาระงานบุคลากร สายสนับสนุนในหน่วยบริการ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์ภาระงานบุคลากร สายสนับสนุนในหน่วยบริการ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แยกเป็น 3 กลุ่ม 1. กลุ่มภารกิจอำนวยการ 2. กลุ่มสนับสนุนบริการ 3. ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา

  2. การวิเคราะห์อัตรากำลังการวิเคราะห์อัตรากำลัง กลุ่มภารกิจอำนวยการ

  3. การวิเคราะห์อัตรากำลังภารกิจอำนวยการการวิเคราะห์อัตรากำลังภารกิจอำนวยการ 1.ฝ่ายบริหารทั่วไป รวม ห้องสมุด สารบรรณ เลขา นิติกร รปภ. ปชส.ซักฟอก ยานพาหนะ ขยะ บำบัดน้ำเสีย รักษาศพฯ ไม่รวม ทำความสะอาด และ งานสวน 2.ฝ่ายการเงินและบัญชี รวมจัดเก็บรายได้ในหอผู้ป่วย 3.ฝ่ายพัสดุและซ่อมบำรุงรักษา 4.ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ 5.ฝ่ายแผนงานและศูนย์คอมพิวเตอร์

  4. FTE : Full Time Equivalent “จำนวนพนักงานปฏิบัติงานเต็มเวลาเมื่อเทียบกับเวลามาตรฐานการทำงาน” • เวลามาตรฐาน กำหนดให้ทำงาน 7 ชั่วโมงต่อวัน จำนวน 240 วันต่อปี(หักวันหยุด) ดังนั้น 1FTE มีค่าเท่ากับ 1,680 ชั่วโมงต่อปี • การคำนวณ FTEคำนวณจากภาระงาน (Workload) หารด้วย เวลามาตรฐาน การทำงาน

  5. ภาระงาน (workload) ภาระงาน : ปริมาณงาน เช่น บริการผู้ป่วยนอก มีหน่วยนับเป็นครั้ง (Case Visit) คูณด้วยเวลาที่ใช้ ในการให้บริการแต่ละครั้ง เช่นพยาบาลใช้เวลาดูแลผู้ป่วยนอก 12 นาทีต่อครั้ง (0.2 ชั่วโมง) มีปริมาณงานผู้ป่วยนอก จำนวน 57,000 ครั้งต่อปี ดังนั้น ภาระงาน มีค่าเท่ากับ 57,000 x0.2 =11,400 ชั่วโมงต่อปี

  6. FTE : Full Time Equivalent เช่นตามตัวอย่างภาระงานของพยาบาล 11,400 ชั่วโมงต่อปี ดังนั้น พยาบาลจะมี FTE เท่ากับ 11,400/1,680=6.78FTE กรอบอัตรากำลัง = 80 % ของ FTE

  7. วิธีการวิเคราะห์อัตรากำลังแบบ FTE • หลักการ ปริมาณงานต่อปี X ค่ากลาง(นาที/งาน) (เวลาทำงาน 240 วัน x 7ชั่วโมง x 60นาที) • ค่ากลางของเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมหนึ่งๆ กำหนดโดยคณะทำงาน ใช้เหมือนกันทุกขนาด รพ. เนื่องจากลักษณะงาน ใช้ระเบียบร่วมกัน ได้แก่ ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยการพัสดุ ระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงิน ฯลฯ

  8. วิธีวิเคราะห์ FTE กลุ่มภารกิจอำนวยการ 1. ตามปริมาณงาน ได้แก่ • งานบริหารทั่วไป เช่น สารบรรณ ปชส. เลขาฯ • งานนิติกร • งานเจ้าหน้าที่ • งานการเงินและบัญชี • งานพัสดุ • งานซ่อมบำรุง • งานแผนและศูนย์คอมพิวเตอร์

  9. ตัวอย่างแบบเก็บข้อมูลงานสารบรรณ รพ.ก

  10. ตัวอย่างแบบเก็บข้อมูลงานซ่อมบำรุงรักษา รพ.ก

  11. วิธีวิเคราะห์ FTE กลุ่มภารกิจอำนวยการ 2. ตามลักษณะงานเฉพาะ • รักษาความปลอดภัย (FTE /จุดตรวจหลักต่อเวร) • งานซักฟอก • (FTE / เตียง) FTE • งานจัดเก็บขยะ • ติดเชื้อ • (FTE / น้ำหนักขยะ) • งานจัดเก็บขยะทั่วไป (FTE / จุดพักขยะ)

  12. ตัวอย่าง

  13. ตัวอย่าง

  14. ผลการวิเคราะห์ กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ

  15. กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการกรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลชุมชน

  16. กรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการกรอบอัตรากำลังภารกิจกลุ่มอำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลชุมชน

  17. A/a S/M/F

  18. กลุ่มสนับสนุนบริการ ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา

  19. กำลังคนในกลุ่มนี้ประกอบด้วยกำลังคนในกลุ่มนี้ประกอบด้วย * ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา * กำลังคนสนับสนุนบริการได้แก่บุคลากรที่ทำงาน สนับสนุนกลุ่มวิชาชีพในการให้บริการโดยตรง

  20. วิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาวิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา ใช้มาตรฐานของ สบ พช แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม S M L • ขนาดใหญ่ • ดูแลนักศึกษา • 120-180 คน • ขนาดเล็ก • ดูแลนักศึกษา • 36-87 คน • ขนาดกลาง • ดูแลนักศึกษา • 90-117 คน วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของบุคลากรแต่ละระดับ L S M ขนาดใหญ่ 50 คน กรอบ = 40 ขนาดเล็ก 20 คน กรอบ = 16 ขนาดกลาง 30 คน กรอบ = 24

  21. วิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:กลุ่มสนับสนุนบริการวิธีการวิเคราะห์ภาระงาน:กลุ่มสนับสนุนบริการ จัดกลุ่มสนับสนุนบริการจำนวน 42 สายงานกับวิชาชีพหลัก 11 วิชาชีพ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม • กลุ่ม 1จำนวนวิชาชีพมากกว่ากลุ่มสนับสนุน ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร เทคนิคการแพทย์ ทันตแพทย์ นวก สาธารณสุข นักรังสีเทคนิค นักกายภาพบำบัด จพ. เวชสถิติ • กลุ่ม 2 จำนวนวิชาชีพน้อยกว่ากลุ่ม • สนับสนุนได้แก่ • นักโภชนาการ นักกายอุปกรณ์ • แพทย์แผนไทย - วิเคราะห์สัดส่วนของวิชาชีพและบุคลากรสนับสนุนในแต่ละระดับสถานบริการ โดยใช้เวทีผู้ทรงคุณวุฒิ - วิเคราะห์กรอบของบุคลากรแต่ละระดับ

  22. กลุ่ม 1 กำลังคนสนับสนุนบริการ รพ ระดับ A

  23. กลุ่ม 2 คิดสัดส่วนต่อวิชาชีพ

  24. ผลการวิเคราะห์อัตรากำลังผลการวิเคราะห์อัตรากำลัง

  25. 40 % ของบุคลากรสายวิชาชีพ

  26. ขอขอบพระคุณ

More Related