1k likes | 1.32k Views
KM ในสถาบันอุดมศึกษา และการนำกระบวนการ KM มาเป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร. สำหรับหลักสูตรการบริหารสถาบันอุดมศึกษา ระดับกลาง มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ รุ่นที่ 2 วันที่ 26 พฤศจิกายน 25 53. โดย ดร.ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล. คลื่นสมอง --- โหมดชีวิต --- ประสิทธิภาพการเรียนรู้.
E N D
KMในสถาบันอุดมศึกษา และการนำกระบวนการ KMมาเป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร สำหรับหลักสูตรการบริหารสถาบันอุดมศึกษา ระดับกลาง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รุ่นที่ 2 วันที่ 26 พฤศจิกายน 2553 โดย ดร.ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล
คลื่นสมอง---โหมดชีวิต---ประสิทธิภาพการเรียนรู้คลื่นสมอง---โหมดชีวิต---ประสิทธิภาพการเรียนรู้ • โหมดปกติ • เมื่ออยู่ในสภาวะปกติ ไม่เร่งรีบ ช้าๆ สบายๆ • เปิดพื้นที่ในการเรียนรู้ • โหมดปกป้อง • เมื่ออยู่ในสภาวะเร่งรีบ กดดัน • ชีพจรเต้นเร็ว เหงื่อออก • ภูมิคุ้มกันหยุดทำงาน ปิดกั้นการเรียนรู้ • ความนิ่ง ความสงบ ความช้า ความนุ่มนวล และความอ่อนโยน --- คือ“พลัง” • ทำอย่างไรให้การเรียนรู้ของเรามีพลัง • การเห็นคุณค่า แก่นแท้ของผู้คน • ทำอย่างไรให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข
กิจกรรมที่ 1: ความคาดหวัง อุปกรณ์ที่แจก • กระดาษสีที่ตัด 4 แผ่นเล็กจากกระดาษ A4 • สี pastel คำถาม ท่านมีความคาดหวังอะไรบ้าง...ในการเข้าอบรมในหัวข้อKMในสถาบันอุดมศึกษา และการนำกระบวนการ KMมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร (ให้เวลา 5 นาที)
การจัดการความรู้ในองค์กรการจัดการความรู้ในองค์กร • ความรู้ (Knowledge)หมายถึงประสบการณ์จริงที่เกิดจากการเห็นจริงและได้ลงมือปฏิบัติ • การเรียนรู้ (Learning)กระบวนการในการหาและสั่งสมความรู้ ทักษะ และความถนัด • ความรู้ (Knowledge) เกิดจากการรู้ (Knowing) • รู้ว่าอะไรคืออะไร (Know-What) • ทำอย่างไร (Know-How) • เพราะอะไรถึงทำอย่างนั้นอย่างนี้ (Know-Why) • รู้ว่าทำอย่างไร (Know-How) • รู้ว่าต้องถามใครถ้าเกิดปัญหา (Know-Who)
การหาเงินทุน การลงทุน การวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ การบริการ การรับพนักงาน และการพัฒนาพนักงาน การบริหารงบประมาณ การขาย และการตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์องค์กร การพัฒนาองค์กร การจัดการความรู้ในองค์กร (ต่อ) การจัดการ (Management)หมายถึง การบริหารองค์กรเพื่อให้เกิดการเพิ่มผลผลิต การจัดการความรู้ (Knowledge Management)หมายถึง การบริหารจัดการองค์กรโดยเน้น การใช้ความรู้และประสบการณ์ของคนทำงานเพื่อเพิ่มผลผลิตแก่องค์กร ให้สามารถแข่งขันได้
การเปรียบเทียบองค์กรเก่า กับ KM (ด้านการบริหาร)
การเปรียบเทียบองค์กรเก่า กับ KM (ด้านสารสนเทศ)
การเปรียบเทียบองค์กรเก่า กับ KM (ด้านบุคคลากร)
Knowledge Level เปรียบเทียบ เชื่อมโยง นำไปใช้จนเชี่ยวชาญ สังเคราะห์ ข้อมูล........สารสนเทศ...........ความรู้..............ปัญญาปฏิบัติ DataInformation Knowledge Wisdom
การจัดการความรู้มุ่งเน้นอะไร (Focus) • องค์กรต้องมุ่งพัฒนาคนทำงาน/กลุ่มคนทำงานใช้ความรู้ ที่หมั่นฝึกฝนการทำงานร่วมกันให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ • CoP • Technology Knowledge • Managerial Knowledge • มุ่งเน้นการสร้างวิธีการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ขององค์กรเท่าที่จะทำได้ ภายใต้ข้อจำกัดต่าง ๆ • ทักษะการแก้ปัญหา และความสามารถในการให้คำแนะนำ • ปรับปรุงการใช้ ICT เพื่อความรวดเร็วและมีข้อมูลเพียงพอในการตัดสินใจ
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้จาก KM (Output) • KM ช่วยในการพัฒนาต่อยอดทักษะในการแก้ปัญหาขององค์กร โดยการรวบรวมประสบการณ์จากผู้เชี่ยวชาญ • วิธีการทำงาน • กฎเกณฑ์การทำงาน • วิธีการใช้เอกสารสำคัญประกอบการทำงาน (Reportsitory) • แหล่งความรู้ (Portal) • รายชื่อผู้เกี่ยวข้องหรือผู้เชี่ยวชาญ (Contacts) • ช่วยลดเวลาในการเรียนรู้ ทำงาน แก้ไขปัญหา หรือตัดสินใจ (CoP)
ผลประโยชน์ระยะยาวที่จะได้จาก KM (Outcome) • คนทำงานใช้ความรู้จะพัฒนาความสามารถอย่างต่อเนื่องไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) คือทุกคนมีการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา • ทำให้องค์กรพัฒนาความสามารถในการจัดการ เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นเรื่อยๆ • สร้างนวัตกรรมหรือการพัฒนาที่ก้าวกระโดด มีความสามารถในเชิงการแข่งขัน
ทักษะ ประสบการณ์ Skill /Experience ความคิด (Mind of individual) พรสวรค์ (Talent)
Explicit Knowledge Customer list Patent Trademark Business plan Marketing research Tacit Knowledge Know how Experience Personal talent Intuitive Innovative ความยากของKM คือการเปลี่ยนจาก T.K. ไปเป็น E.K. Documented Not Documented Codified Difficult to identify Archived
แผนภาพกระบวนการการจัดการความรู้แผนภาพกระบวนการการจัดการความรู้ นำไปปรับใช้ สร้างความรู้ยกระดับ ความรู้จากทีม ประสบการณ์ การปฏิบัติ มีใจแบ่งปัน เรียนรู้ร่วมกัน รวบรวม ตีความ จัดระบบ เข้าถึง
ระดับของการสนทนา • Downloading- talk nice, superficial ใช้ข้อมูลชุดเดิม เป็นมารยาททางสังคม ผิวเผิน เช่นการทักทาย • Debating- logic, evidence, think ใช้ความคิด เหตุผล ตรรกะ ถูกผิด (เหตุผลของเราย่อมถูกเสมอ) • Dialogue- hidden message, heart สุนทรียสนทนา...ใช้ความรู้สึกในการฟังมากขึ้น ใช้หัวใจในการรับรู้ความรู้สึก ของคู่สนทนามากขึ้น เข้าใจความแตกต่างของคู่สนทนา... • Generative Dialogue- change, emerging k. ทำให้เกิดชุดความรู้ใหม่ รู้สึกว่ามีบางคนพูดให้เราเข้าใจอะไรใหม่ มีปัญญา เกิดการเปลี่ยนแปลง การรับรู้ใหม่ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
Theory U มีความงาม ตาใน + จิตตื่นรู้ มนุษย์ มอง ปัญญาตื่นรู้: มองเห็นด้วยกัน ช่วยกันเห็น ช่วยกันตื่น เยียวยาแผ่นดิน กระบวนการสร้างการตื่นรู้ 1. Reflection: การครุ่นคิด พินิจนึก ใคร่ครวญ 2. Inquiry: การสืบค้น การตั้งคำถาม ความพิศวง
Otto Scharmer Theory U Reaction Action Downloading
องค์ประกอบสำคัญของวงจรความรู้องค์ประกอบสำคัญของวงจรความรู้ • คนถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด • - เป็นแหล่งความรู้ • - เป็นผู้นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บแลกเปลี่ยน นำความรู้ไปใช้ได้อย่างง่ายและรวดเร็วขึ้น 3. กระบวนการเป็นการบริหารจัดการเพื่อนำความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุงและนวัตกรรม
เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) ความรู้อยู่ที่ใครอยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) จะแบ่งประเภทหัวข้ออย่างไร 3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร 4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 5.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์การ หรือไม่ทำให้องค์การดีขึ้นหรือไม่ 7.การเรียนรู้ (Learning)
กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการ และเครื่องมือ (Process Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) Robert Osterhoff
การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การฝึกอบรม - การเรียนรู้ (Training & Learning) การวัดผล (Measurements) วิสัยทัศน์/ พันธกิจ ขอบเขต KM เป้าหมาย (Desired State) ประเด็นยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์/ กระบวนงาน การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) กระบวนการ และเครื่องมือ (Process &Tools) การสื่อสาร (Communication) การบูรณาการกระบวนการจัดการความรู้-กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง
กิจกรรมที่ 2: กระบวนการจัดการความรู้ อุปกรณ์ที่แจก • ใบงาน กระบวนการจัดการความรู้ คนละ 1 แผ่น กิจกรรม 1. ดู VCD 2. ให้สรุปกระบวนการจัดการความรู้จาก VCD ลงในใบงาน
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 11 “ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถ ประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสมต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัด ให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน...”
LO: Learning Organizationองค์กรแห่งการเรียนรู้ การแชร์คุณค่าร่วม Common Idea & Direction ไม่ยึดติดกรอบคิดเดิม My premises about how the world work การไฝ่รู้ Self Management การคิดอย่างเป็นระบบ System thinking เรียนรู้กันทั้งทีม Thinkingtogether
Mental Model ทฤษฎีไข่แดง----พื้นที่ปลอดภัย Risky Zone Comfort Zone Dangerous Zone
1. Downloading:อยู่ในกรงขังความคิดแบบเดิม ๆ 2. พาตัวเองออกมาแตะขอบ เริ่มมองย้อนอะไรที่มากกว่าในกรอบความคิดแบบเก่า ๆ 3. พาตัวเองแหวกกรอบวงล้อมความคิดและการกระทำแบบเดิม ๆ สู่กระบวนการคิดใหม่ ทำอะไรที่แตกต่างจากเดิม 4. หลุดจากกรอบเดิม มีการสร้างจินตนาการและการกระทำใหม่ ได้นวัตกรรมใหม่ ๆ ออกมา
System Thinking • คนในองค์กรมีความสามารถในการคิดเชิงระบบ สามารคาดคะเนถึงความเชื่อมโยงของสรรพสิ่ง • ตัวอย่างเช่น....การพิจารณาประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น...ว่าเป็นอย่างไร... มีแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างไรบ้าง... ต้องใช้ความรู้อะไร... • ให้สามารถจับประเด็น สรุป เชื่อมโยง สาระความรู้และเรียบเรียงความคิดให้เป็นระบบ
กิจกรรมที่ 3: การคิดเชิงระบบ อุปกรณ์ที่แจก • กระดาษสีแผ่นเล็ก คนละ 1 แผ่น คำถาม สมมุติว่าท่านอยู่ในเรือขนาดใหญ่ที่กำลังอัปปาง ให้ท่านสามารถหยิบสิ่งของได้สิบอย่างลงเรือชูชีพ ท่านจะหยิบอะไรบ้าง เพราะเหตุใด
แนวคิด • ก่อนอื่นท่านต้องจัดระบบความคิดก่อนว่าการที่เรือโดยสารขนาดใหญ่อัปปาง จะต้องมีหน่วยช่วยเหลือมา • ดังนั้นสิ่งแรกที่ต้องหยิบคือเครื่องส่งสัณญาน เช่นกระจกสะท้อนแสง พลุส่องสว่าง ไฟฉายเป็นต้น • ต่อมาท่านต้องคิดว่าความช่วยเหลือจะต้องใช้เวลา ดังนั้นท่านต้องเตรียมอาหารและน้ำจืดให้พอเพียงอย่างน้อย 3-5 วัน • ต่อมาปัญหาของความร้อนและความเย็นของกลางวันและกลางคืนดังนั้นสิ่งที่ต้องหยิบก็คือผ้าพลาสติกที่สามารถกันน้ำกันแดดและให้ความอบอุ่นในเวลากลางคืน เหล่านี้เป็นต้น • จนได้ของสิบอย่างในการช่วยชีวิตผู้เขียนท่านได้ ซึ่งท่านอาจไม่จำเป็นต้องคิดหรือหยิบสิ่งของตามแบบตัวอย่างก็ได้ • แต่ถ้าท่านสามารถเรียบเรียงจัดระบบความคิดและดำเนินการเป็นขั้นเป็นตอนเพื่อบรรลุเป้าประสงค์ได้ ท่านก็มี Systematic Thinking เช่นกัน
Personal Mastery • คนในองค์กรมีความไฝ่รู้ สามารถเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา • เมื่อศึกษาหรือกระทำสิ่งใดจะต้องทุ่มเทศึกษาทำความเข้าใจให้ลึกซึ้งรู้จริงอย่างถึงแก่น เพื่อสามารถนำความรู้ไปใช้งานได้จริง ระดับของความรู้สามารถจำแนกได้ 3 ระดับ คือ 1. รับรู้ (Perception) • อ่านมา จำมา โดยไม่ได้ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการทดลองปฏิบัติ 2. เรียนรู้ (Learning) • เป็นความรู้ที่ผ่านกระบวนการคิดของสมอง (Processing)ทั้งการสังเคราะห์ การวิเคราะห์ การเชื่อมโยง ความเกี่ยวเนื่องขององค์ประกอบความรู้และความรู้ย่อยที่ซ่อนอยู่ รวมทั้งการทดลองปฏิบัติให้รู้ 3. รู้จริง (Expert) • เป็นความรู้ที่ผ่านการสะสมจนตกผลึกความคิดสามารถจินตนาการในจิตใจได้เข้าใจอย่างทะลุปรุโปร่งในทุกรายละเอียด
Personal Mastery • สิ่งสำคัญคือต้องแยกแยะให้ได้ว่าลักษณะงานอย่างไรต้องการความรู้ระดับใดในการบรรลุเป้าประสงค์ที่ต้องการ • เช่นงานบริหารระดับสูงต้องการความรู้ด้านเทคนิคในระดับรับรู้ก็พอเพียงเพื่อสามารถสื่อสารให้ผู้รู้จริงสามารถนำไปปฏิบัติตามนโยบายได้ • แต่ผู้บริหารต้องเป็น Personal Mastery ในเรื่องการบริหาร
อุปสรรค 4 อย่างในการเรียนรู้ คิด 2. 1. เห็น พูด 3. 4. ทำ
Team Learning • กระบวนการที่ทำให้กลุ่มสามารถพัฒนาภูมิปัญญาและความสามารถ ของกลุ่มให้เกิดขึ้นมากกว่าการนำภูมิปัญญาและความสามารถของสมาชิกแต่ละคนมารวมกัน • ทำให้ความสามารถของกลุ่มเพิ่มอย่างยั่งยืน เพราะเป็นกระบวนการประสานและพัฒนาความสามารถของทีมเพื่อสร้างผลลัพธ์ที่สมาชิกของทีมต้องการอย่างแท้จริง ดังนั้นจึงเกิดการเสริมแรงซึ่งกันและกันภายในกลุ่ม การแบ่งปัน แลกเปลี่ยน ถ่ายทอดข้อมูล ความรู้ซึ่งกันและกันในทีม
ตัวอย่าง • ตัวอย่างTeam Learningการวิจัยเครื่องสำอาง • ประกอบด้วยแพทย์ผิวหนัง แพทย์อายุรกรรม เภสัชกร ผู้เชี่ยวชาญด้านความงาม นักวิทยาศาสตร์ด้านเคมี ฯลฯ • บุคลากรเหล่านี้แต่ละคนจะมีความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เฉพาะด้านที่แตกต่างกัน • ในการทำงานของทีม ความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ของบุคลากรคนหนึ่งๆที่ขาดไป จะถูกเติมให้เต็มด้วยสิ่งที่บุคลากรอื่นมี • บุคลากรในทีมงานจะทำการวิจัยร่วมกันอย่างใกล้ชิด ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่ทีมงานเผชิญจะถูกแก้ไขด้วยวิธีการต่างๆ ที่ได้จากการบูรณาการความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ของบุคลากรทุกคนในทีมงาน • เมื่อการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่งล้มเหลว ทีมงานก็จะเรียนรู้ร่วมกันและพยายามแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการอื่นต่อไป • หากทีมงานเห็นว่ายังขาดข้อมูลหรือความรู้บางอย่างที่จำเป็น บุคลากรที่มีศักยภาพในด้านดังกล่าวก็จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม แล้วนำมาแปรเป็นศักยภาพที่เพิ่มขึ้นของทีม • เมื่อทีมงานค้นพบความรู้ใหม่ ความรู้นั้นก็จะกลายเป็นองค์ความรู้ใหม่ของทีม • การทำงานของทีมจะสอดคล้องประสานและดำเนินต่อไปจนกว่าจะประสบความสำเร็จได้เครื่องสำอางใหม่ที่ต้องการ
Sheared Vision • การสร้างความสำนึก ความมุ่งมั่นของบุคลากรในองค์กร ด้วยการร่วมกันพัฒนาภาพขององค์กรที่ต้องการ จนได้ภาพที่มีรายละเอียดชัดเจนและเป็นภาพเดียวกันของทุกๆ คน • ร่วมกันพัฒนาหลักการและวิธีปฏิบัติที่จะนำองค์กรให้บรรลุผลดังกล่าว วิสัยทัศน์ เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีความเป็นเลิศทางการเกษตรระดับนานาชาติ
M K คน งาน องค์กร
ถอดบทเรียนการนำกระบวนการ KMมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร โดยคณะกรรมการดำเนินการกำหนดสมรรถนะมาตรฐานของบุคลากรคณะกรรมการจัดการความรู้มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การเชื่อมต่อยุทธ์ศาสตร์ไปสู่การบริหารทรัพยากรบุคคลการเชื่อมต่อยุทธ์ศาสตร์ไปสู่การบริหารทรัพยากรบุคคล Vision Mission Value Organization Strategy Organization Competencies Technology Processes People HR Strategy Competency Manpower Recruit Development Performance Mgt. Compensation 46
คุณลักษณะของวิสัยทัศน์คุณลักษณะของวิสัยทัศน์ Core Values Visionary Goal Core Purpose Vision ความเชื่อของคนในองค์กร ในพฤติกรรม และความสามารถที่เป็น เป้าหมาย ที่วาดฝัน ในอนาคต เหตุผลหลัก ของการคงอยู่ ขององค์กร
Charter Vision/Mission Objective/Strategy/Policy เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีความเป็นเลิศทางการเกษตรในระดับนานาชาติ วิ สัยทัศน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 48
สร้างและเชิดชู ชื่อเสียงและ เกียรติภูมิ ให้ประจักษ์ Integrity Professionalism I P Research & Innovation มีความเป็นเลิศ ทางวิชาการด้าน การเกษตร Competency Behavior อดทน สู้งาน คุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาล ทันต่อการเปลี่ยนแปลง Teamwork & Networking Creativity & Innovation Personal Mastery Information Technology Skills Foreign Language Skills Core Values Maejo Vision Visionary Goal Core Purpose สร้างบัณฑิต ที่เก่งคน เก่งคิด เก่งงาน เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ด้านการเกษตร ในระดับโลก เป็น Learning Organization
The Iceberg Model What is Competency? Visible Skill Knowledge Self-Concept Trait Motive Competency Components Hidden C O M P E T E N C Y A person’s information in specific fields Knowledge Trait Motives Physical characteristics and consistent responses to situation The things a person thinks about or wants that cause action. Attribute Core Personality Behavior Self-Concept A person’s attitudes and values Skill The ability to perform a physical or mental task 50 50