1 / 28

การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC

การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC. การติดต่อฐานข้อมูล ODBC. ODBC (Open Database Connectivity) เป็นรูปแบบการติดต่อฐานข้อมูลไมโครซอฟต์ Microsoft Access, Microsoft FoxPro, Visual FoxPro, dBase และ Excel ฐานข้อมูลอื่นๆ ที่มีไดร์เวอร์ติดตั้งกับระบบปฏิบัติการ. ฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อ.

argus
Download Presentation

การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC

  2. การติดต่อฐานข้อมูลODBC • ODBC (Open Database Connectivity) เป็นรูปแบบการติดต่อฐานข้อมูลไมโครซอฟต์ • Microsoft Access, Microsoft FoxPro, Visual FoxPro, dBase และ Excel • ฐานข้อมูลอื่นๆ ที่มีไดร์เวอร์ติดตั้งกับระบบปฏิบัติการ

  3. ฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อ • odbc_connect()สำหรับการติดต่อODBCdata sourceซึ่งต้องใช้Data Source Name(DSN), ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน • odbc_prepare()สำหรับเตรียมสร้างคำสั่งSQLเพื่อการเอ็กซิคิวต์ • odbc_execute()สำหรับเอ็กซิคิวต์คำสั่งSQL • odbc_result_all()สำหรับแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบตารางของ HTML

  4. ฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อ • odbc_free_result()สำหรับปล่อยให้resourceเป็นอิสระจากการติดต่อ • odbc_close()สำหรับปิดการติดต่อที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน

  5. ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูลขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล • 1. สร้างส่วนเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลด้วยคำสั่งodbc_connect()ดังนี้ $connection = odbc_connect(“DataSourceName”,”username”,”password”) or die(“ติดต่อDataSource ไม่ได้”); • โดยที่$connection คือตัวแปรที่ใช้ติดต่อ Datasource • DataSourceNameคือชื่อData Source Name

  6. ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูลขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล • Username คือชื่อผู้ใช้ • Password คือรหัสผ่านสำหรับการเข้าใช้ฐานข้อมูล • Die()คือฟังก์ชันที่ใช้ในการแจ้งข่าวสารเมื่อติดต่อเซิร์ฟเวอร์ไม่ได้และออกจากสคริปต์โดยไม่มีการดำเนินการใดๆเพิ่มเติม

  7. ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูลขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล • 2. สร้างคำสั่งSQLเพื่อนำข้อมูลมาแสดงผลโดยมีรูปแบบคำสั่งดังนี้ $sql = “SELECT field 1, field 2,…, fieldn FROM tablename ORDER BYfieldname strorder”; • $sql คือตัวแปรที่เก็บคำส่งSQL • field 1, field 2,…., fieldn คือชื่อฟิลด์ที่ต้องการใช้ (ถ้าเลือกทุกฟิลด์ใช้คำสั่งselect *)

  8. ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูลขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล • tablename คือชื่อตารางที่อยู่ในฐานข้อมูลนั้น • fieldnameคือชื่อฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับ • strorderคือรูปแบบการเรียงข้อมูลไก้แก่ ASC (เรียงจากน้อยไปมาก) และ DESC (เรียงจากมากไปน้อย)

  9. ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูลขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล • 3. สร้างตัวแปรเพื่อเก็บคำสั่งSQLที่เตรียมไว้โดยใช้ฟังก์ชันodbc_prepare()ซึ่งมีรูปแบบของคำสั่งดังนี้ $sql_statement = odbc_prepare($connection,$sql) or die(“เตรียมคิวรีไม่ได้”);

  10. ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูลขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล • 4.สร้างตัวแปรเพื่อเก็บผลของคิวรีที่ประมวลผลด้วยฟังก์ชันodbc_execute()ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ $sql_result = odbc_execute($sql_statement) or die(“ประมวลผลสั่งไม่ได้”); • 5.เป็นขั้นตอนนำข้อมูลไปประมวลผลเช่นการแสดงผลในลักษณะตารางของHTMLด้วยฟังก์ชันodbc_result_all()ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ odbc_resolt_all($sql_result, “border=1”);

  11. ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูลขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล • 6.เป็นขั้นตอนการปล่อยอิสระResourceจากการติดต่อและปิดการติดต่อโดยฟังก์ชันodbc_free_result()และodbc_close()มีรูปแบบดังนี้ odbc_free_result($sql_result); odbc_close($connection);

  12. สรุปคำสั่งและฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลผ่านODBCสรุปคำสั่งและฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลผ่านODBC <?php //เริ่มการติดต่อ data source $connection = odbc_connect(“DataSourceName”, “username”,”password”) or die(“ติดต่อdata source ไม่ได้”); //สร้าคำสั่งSQL $sql = “SELECT field1,field2 FROM database_name ORDER BY field_name”;

  13. สรุปคำสั่งและฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลผ่านODBCสรุปคำสั่งและฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลผ่านODBC // เตรียมคำสั่งSQL $sql_statement = odbc_prepare($connection,$sql) or die(“เตรียมคิวรีไม่ได้”) //แสดงผลลัพธ์ในรูปแบบตารางHTML odbc_result_all($sql{resuslt, “border=1” //ปล่อยให้resourceเป็นอิสระจากการติดต่อและปิดการติดต่อ odbc_free_result($sql_result); odbc_close($connection); ?>

  14. การเขียนโปรแกรมแสดงผลการเขียนโปรแกรมแสดงผล • มีขั้นตอนดังนี้ • 1. เริ่มติดต่อฐานข้อมูล • 2. เขียนคำสั่ง SQL และเอ็กซิคิวต์ • 3. แสดงข้อมูล • 4. ปิดการติดต่อฐานข้อมูล

  15. ติดต่อฐานข้อมูล • ใช้ฟังก์ชัน odbc_connect() ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ odbc_connect($dsn, $user, $password) or die(“message”) • โดยที่ $dsn คือข้อความที่เป็นชื่อ DSN • $user คือชื่อล็อกอิน • $password คือ รหัสผ่านสำหรับเข้าใช้ฐานข้อมูลตามที่กำหนดใช้ DSN • or die(“message”) คือข้อความเพื่อแจ้งว่าติดต่อฐานข้อมูลไม่ได้

  16. ตัวอย่าง • การติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBCทางDSNที่ชื่อ bookshopโดยไม่มีชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน $dsn = “bookshop” $user = “”; $pass = “”; $connect = odbc_connect($dsn, $user, $pass);

  17. เขียนคำสั่งSQLและประมวลผลเขียนคำสั่งSQLและประมวลผล • การเขียนคำสั่งSQLแล้วสั่งประมวลผลโดยใช้ฟังก์ชัน odbc_exec()มีรูปแบบการดังนี้ SELECT field1, field2,…,fieldN FROMtblnameสำหรับเลือกฟิลด์ที่ต้องการ SELECT * FROM tblnameสำหรับเลือกทุกฟิลด์ • โดยที่ field1, field2,…,fieldN คือชื่อฟิลด์ที่ต้องการแแสดงข้อมูล • * แทนการเลือกทุกฟิลด์ • tblnameคือชื่อตารางที่ต้องการใช้

  18. ตัวอย่าง $sql = “select * from book; odbc_exec($connect, $sql); //ในกรณีสั่งเอ็กซิคิวต์โดยตรง $exec = odbc_exec($connect, $sql); //ในกรณีเก็บเป็นตัวแปรเพื่อแสงดค่าฟิลด์ต่างๆ

  19. การแสดงผลในรูปแบบตารางการแสดงผลในรูปแบบตาราง • ใช้ฟังก์ชัน odbc_result_all()ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ odbc_result_all($exec, “border = 1”); • โดยที่ $execคือตัวแปรที่เก็บการเอ็กซิคิวต์คำสั่งSQL • การปิดการติดต่อฐานข้อมูล • โดยใช้คำสั่งodbc_free_result() และodbc_close()ดังนี้ odbc_free_result($exec); odbc_close($connect); โดยที่$exec คือตัวแปรที่เก็บการเอ็กซิคิวต์คำสั่ง SQL $connectคือตัวแปรที่เก็บการติดต่อ

  20. ตัวอย่าง • ตัวอย่าง exodbc01.phpเป็นคำสั่งที่ติดต่อฐานข้อมูลผ่านDSNที่ชื่อ Bookshopแสดงข้อมูลแบบตาราง

  21. การแสดงชื่อและจำนวนฟิลด์การแสดงชื่อและจำนวนฟิลด์ • ใช้ฟังก์ชันodbc_num_field(), odbc_field_name()และodbc_field_type() ตามลำดับ • ตัวอย่างexodbc02.phpเป็นตัวอย่างที่ได้ผลลัพธ์แสดงจำนวน, ชื่อและประเภทฟิลด์ในตาราง

  22. การแสดงจำนวนระเบียนข้อมูลการแสดงจำนวนระเบียนข้อมูล • ใช้ฟังก์ชัน odbc_num_row() ดังตัวอย่าง <?php $dsn = “bookshop”; //กำหนดชื่อDSN $user = “”; //กำหนดชื่อล็อกอิน $pass = “”; //กำหนดรหัสผ่าน $connect = odbc_connect($dsn, $user, $pass) or die (“ติดต่อDSNไม่ได้”); //เริ่มติดต่อฐานข้อมูล $sql = “select * from book”; // กำหนดคำสั่ง SQLเพื่อแสดงข้อมูล $exec = odbc_exec($connect, $sql); //เริ่มเอ็กซิคิวต์คำสั่งSQL $num_rows = odbc_num_rows($exec); //ตัวแปรจำนวนเรกคอร์ด echo “ตารางBookมีจำนวนเรกคอร์ด= <Font color = red>”. $num_rows; odbc_close($connect); //ปิดการเชื่อมต่อ ?>

  23. การแสดงข้อมูลทั้งหมดโดยการเลื่อนพอยน์เตอร์การแสดงข้อมูลทั้งหมดโดยการเลื่อนพอยน์เตอร์ • ฟังก์ชันodbc_fetch_row() ใช้การเลื่อนพอยน์เตอร์ • ตัวอย่าง exodbc04.php

  24. การเพิ่มข้อมูล • ใช้คำสั่งinsert into มีรูปแบบคือ insert into tbname (field1, field2,…, fieldn) values (‘val1’, ‘val2’, ‘val3’,…, ‘valn’); ตัวอย่าง • exodbc05.php การเพิ่มข้อมูลโดยพิมพ์ข้อมูลในคำสั่งsql • exodbc06.php การเพิ่มข้อมูลโดยใช้คำสั่งsqlและฟอร์ม

  25. โปรแกรมค้นหาข้อมูล • การค้นหาด้วย PHPมี 2 วิธีคือ • การค้นหาข้อมูลโดยการใช้คำสั่งSQL ตรงๆ • การค้นหาข้อมูลโดยการให้ผู้ใช้กรอกคำสั่งที่ต้องการค้นหา ทั้ง 2 วิธีจะใช้คำสั่ง select * form tblname where condition • ตัวอย่าง exodbc08.php • ตัวอย่าง exodbc09.php, exodbc10.php

  26. การแก้ไขข้อมูล • การค้นหาด้วย PHPมี 2 วิธีคือ • การแก้ไขข้อมูลโดยการใช้คำสั่งSQL ตรงๆ • การแก้ไขข้อมูลโดยให้ผู้ใช้กรอกข้อมูลผ่านฟอร์มแล้วส่งค่าไปแก้ไขข้อมูลในฐานข้อมูล ทั้ง 2 วิธีจะใช้คำสั่ง UPDATE tblname SET field1 = ‘new_value’ , field2 = ‘new_value’ , … WHERE condition; • ตัวอย่าง exodbc11.php • ตัวอย่าง exodbc12.php, exodbc13.php, exodbc14.php

  27. การลบข้อมูล • ใช้คำสั่งdelete มีรุปแบบดังนี้ Delete from tblname wherecondition • ตัวอย่างexodbc19.phpเป็นการลบข้อมูลจากฐานข้อมูลด้วยคำสั่งSQL โดยตรง • ตัวอย่างexodbc20.phpเป็นการลบข้อมูลโดยการรับคีย์จากผู้ใช้

  28. การแบ่งแสดงผลเป็นหน้า(Paging)การแบ่งแสดงผลเป็นหน้า(Paging) • ตัวอย่าง exodbc26.php

More Related