1 / 43

บทที่ 5

บทที่ 5. การพัฒนาเครื่องมือการวิจัย. ประชากร (population) หมายถึง ส่วนทั้งหมดของทุกหน่วย ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง (sample) หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรที่ผู้วิจัยเลือกขึ้นมาเพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการทำวิจัย.

Download Presentation

บทที่ 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือการวิจัย ประชากร (population) หมายถึง ส่วนทั้งหมดของทุกหน่วย ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง (sample) หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรที่ผู้วิจัยเลือกขึ้นมาเพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการทำวิจัย

  2. 1. ประชากรที่มีจำนวนจำกัด หมายถึง ประชากรที่สามารถนับจำนวนได้อย่างครบถ้วน 2. ประชากรที่มีจำนวนไม่จำกัด หมายถึง ประชากรที่ไม่สามารถนับจำนวนได้ครบถ้วนหรือนับได้ไม่แน่นอน

  3. เหตุผลที่ต้องศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ 1. เพื่อความถูกต้อง 2. เพื่อความเป็นปัจจุบัน 3. ประหยัดค่าใช้จ่าย

  4. ข้อดีของการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างข้อดีของการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง 1. สามารถประหยัดทั้งค่าใช้จ่าย เวลาและแรงงาน 2. ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างช่วยให้ลดระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทำให้ข้อมูลที่ได้มานี้ไม่ล้าสมัย 3. ได้คุณลักษณะของประชากรมากกว่า 4. สามารถควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนต่างๆ 5. สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้กว้างขวาง 6. ใช้กับข้อมูลที่ไม่สามารถเก็บจากประชากรในการวิจัยได้

  5. ข้อจำกัดของการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างข้อจำกัดของการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง ตัวอย่างซึ่งมีสิ่งที่ผู้วิจัยควรพึงระวังดังนี้ 1. กำหนดกระบวนการขั้นตอนในการสุ่มตัวอย่างให้ชัดเจน 2. ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างเป็นเพียงค่าประมาณเท่านั้น 3. ความไม่ไว้วางใจของกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มได้ 4. ความลำเอียงของผู้วิจัย 5. การกระจายของประชากร

  6. ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดีลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี ลักษณะกลุ่มตัวอย่างที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1. เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร 2. มีขนาดพอเหมาะ

  7. กรอบการเลือกกลุ่มตัวอย่างมี 2 ชนิด คือ

  8. 1. การกำหนดรายการ (listframe) 2. การกำหนดภูมิศาสตร์ (areaframe)

  9. ข้อเสนอแนะในการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างข้อเสนอแนะในการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง 1. คุณลักษณะประชากร ถ้าประชากรมีคุณลักษณะคล้ายคลึงกันมาก สามารถใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็กได้ 2. ขนาดของประชากร ถ้าประชากรมีจำนวนไม่มาก ควรใช้ประชากรในการวิจัย 3. วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง จำเป็นอย่างยิ่งที่นักวิจัยต้องเลือกวิธีการสุ่มที่เหมาะสมกับลักษณะของประชากร 4. ระดับความคลาดเคลื่อนในการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยควรมีการกำหนดระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ผิดพลาดได้ไว้ล่วงหน้า ซึ่งนิยมใช้การยอมให้มีความคลาดเคลื่อนได้ 1-5%

  10. 5. ประเภทของการวิจัย ถ้าเป็นการวิจัยเชิงทดลอง การใช้กลุ่มตัวอย่างมากอาจเกิดผลเสียมากกว่าผลดี เนื่องจากการควบคุมการทดลองทั้งตัวจัดกระทำ หน่วยทดลอง จะมีความยุ่งยากมาก 6. ต้นทุน ควรมีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างให้มีความเหมาะสม และเพียงพอที่จะเป็นตัวแทนที่ดีของประชากรโดยพิจารณางบประมาณและจุดมุ่งหมายของการวิจัยด้วย

  11. วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างวิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง 1. ใช้เกณฑ์อย่างง่าย 1. ขนาดประชากรไม่ถึงหนึ่งพัน ใช้กลุ่มตัวอย่าง 15-30 % 2. ขนาดประชากรตั้งแต่หนึ่งพันถึงหนึ่งหมื่น ใช้กลุ่มตัวอย่าง 10-15 % 3. ขนาดประชากรมากกว่าหนึ่งหมื่น ใช้กลุ่มตัวอย่าง 5-10 %

  12. 2. โดยใช้ตารางเครซีและมอร์แกน การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Robert V. Krejcie และ Daryle W. Morgan ซึ่งทั้งสองท่านได้สร้างตารางเพื่อใช้ สุ่มขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยเทียบกับขนาดประชากร ซึ่งผู้วิจัย สามารถเลือกขนาดกลุ่มตัวอย่างได้อย่างสะดวกโดยดูจาก ตารางที่ กำหนดให้

  13. การหาขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการคำนวณการหาขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการคำนวณ 1. ในกรณีไม่ทราบขนาดของประชากร

  14. ตัวอย่างการคำนวณ กำหนดให้สัดส่วนของประชากรเท่ากับ 0.1 ต้องการความเชื่อมั่น 99% และยอมให้คลาดเคลื่อนได้ 5 % ผู้วิจัยจะใช้กลุ่มตัวอย่างกี่คน สูตร วิธีทำ p = 0.1 , Z = 2.58 , d = 0.05 เมื่อ n = (0.1) (1 – 0.1) (2.58) 2 (0.05) 2 = 0.1 x 0.9 x 6.6564 0.0025 = 0.60 0.0025 = 240 คน

  15. 2. ในกรณีทราบขนาดของประชากร การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ในกรณีทราบจำนวนประชากรที่ แน่นอนใช้สูตร ทาโร ยามาเน (Taro Yamane, 1970, p. 125) โดยวิธีการคิดคำนวณดังนี้ สูตร n = N 1 + Ne2

  16. n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง N แทน ขนาดของประชากร e แทน ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่าง

  17. ตัวอย่างการคำนวณ ถ้าต้องการสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดประชากรเท่ากับ 6,000 และยอม ให้เกิดความคลาดเคลื่อนได้ร้อยละ 5 หรือ 0.05 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการศึกษาเท่ากับกี่หน่วย วิธีทำ เมื่อ N = 6,000 หน่วย และ e = 0.05 n = 6,000 1 + 6,000 x (0.05) 2 n = 375

  18. ขนาดของประชากร ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ สรุป และอภิปรายผล อนุมานว่าเป็นคุณลักษณะของประชากร การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง (random sampling)

  19. 2. ความคลาดเคลื่อนในการสุ่มตัวอย่าง (error in sampling) 2.1 ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการสุ่ม (sampling error) 2.2 ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการใช้เครื่องมือวัด (measurement error)

  20. 3. สาเหตุของความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง 3.1 ใช้เทคนิคการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง 3.2 ใช้สูตรการคำนวณไม่เหมาะสมกับเทคนิคการสุ่ม 3.3 ใช้ขนาดกลุ่มตัวกลุ่มอย่างเล็กเกินไป

  21. 4. ขั้นตอนในการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง ขั้นตอนในการสุ่มกลุ่มตัวอย่างดังนี้ 1) กำหนดจุดมุ่งหมายในการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง 2) นิยามประชากรที่จะทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง 3) กำหนดข้อมูลที่จะเก็บรวบรวม 4) ระบุระดับความถูกต้องในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล 5) ระบุวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

  22. 6) จัดทำบัญชีรายชื่อของหน่วยการสุ่มทั้งหมด 7) การเลือกกลุ่มตัวอย่าง 8) ทำการทดลองเพื่อตรวจสอบความบกพร่องของเครื่องมือ 9) การจัดระบบสนาม 10) การตรวจสอบข้อมูล 11) การวิเคราะห์และสรุปข้อมูลที่สุ่มได้ 12) เขียนข้อเสนอแนะสำหรับการสุ่มครั้งต่อไป

  23. การอ้างอิงผลจากกลุ่มตัวอย่างสู่ประชากรการอ้างอิงผลจากกลุ่มตัวอย่างสู่ประชากร 1. กลุ่มตัวอย่างที่สุ่มได้นั้นมีลักษณะใกล้เคียงกับประชากรมากที่สุดและมีจำนวนมากเพียงพอที่จะพิสูจน์หรือเปรียบเทียบกันได้ 2. ต้องมีการใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีคุณภาพ มีความเที่ยงสูง และใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม 3. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลต้องถูกต้องตามหลักการทางสถิติ

  24. ประเภทของการเลือกกลุ่มตัวอย่างประเภทของการเลือกกลุ่มตัวอย่าง มี 2 ประเภท คือ 1. การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น 2. การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น

  25. 1. การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น แบ่งได้หลายประเภทดังนี้ 1.1 การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย เป็นการสุ่มที่สมาชิกทุกหน่วยของประชากรมีความ แตกต่างกันไม่มาก และเป็นอิสระต่อกัน ซึ่งจำเป็นต้องทำให้ หน่วยของประชากรมีโอกาสถูกเลือกเท่ากัน การสุ่มกลุ่ม ตัวอย่างแบบอย่างง่ายนี้ สามารถทำได้ 2 วิธี คือ วิธีจับฉลาก และวิธีใช้ตารางเลขสุ่ม

  26. 1.2 การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เป็นการสุ่มที่มีลักษณะการกระจายของหน่วยตัวอย่างที่ ครอบคลุมประชากร ถ้าต้องการเลือกกลุ่มตัวอย่างขนาด n โดย การนำประชากร (N) หารด้วยจำนวนหน่วยตัวอย่างที่ต้องการ (n) จะได้เท่ากับสมมุติว่าแล้วดำเนินการดังนี้ 1) สุ่มตัวอย่างหน่วยแรก สมมุติว่าได้ 7 โดยมี k = 10 2) หน่วยตัวอย่างหน่วยต่อไปคือ 7+10 =17

  27. 1.3 การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิหรือเป็นพวก (stratum) โดยภายในชั้นภูมิหรือพวกนั้นจะมีลักษณะที่ คล้ายคลึงกันมากที่สุด แต่ระหว่างชั้นภูมิหรือพวกจะต้องมี ความแตกต่างกันมากที่สุด

  28. A C C B A B C B A AB C B A B C C A B C A B C A ประชากร A A A A A B B B B B C C CC C C C C A A A B B B กลุ่มตัวอย่าง A, A, A B, B, B, C, C, C

  29. 1.4 การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบยกกลุ่ม การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบยกกลุ่ม เหมาะสำหรับประชากรที่ มีสมาชิกซึ่งมีคุณลักษณะเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันเป็นกลุ่มๆ แต่กระจายกันอยู่ในขอบเขตที่กว้าง

  30. ภาคเหนือ จังหวัด จังหวัด อำเภอ อำเภอ อำเภอ อำเภอ ตำบล ตำบล ตำบล ตำบล ตำบล ตำบล ตำบล ตำบล หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค

  31. 2. การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น โดยมากมักใช้สำหรับงานวิจัยประเภทสำรวจ หรือการวิจัย เชิงคุณภาพ การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะ เป็น มีดังนี้ 2.1 การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 2.2 การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ 2.3 การเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบลูกโซ่ (snowball sampling)

  32. จ ค ง ช ข ฉ จ Snow Ball Techniques ช ก ต ท ข ค จ ง ข ช จ

  33. 2.4 การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควต้า เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น มี ลักษณะคล้ายกับเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ โดย แบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มพวกแต่ละกลุ่มมีจำนวนสมาชิกอยู่ อย่างชัดเจน วิธีการสุ่มจะเริ่มจากการกำหนดคุณลักษณะที่ ต้องการ แล้วจึงกำหนดจำนวนตัวอย่างตามคุณลักษณะ โดย ขนาดของกกลุ่มตัวอย่างไม่จำเป็นต้องเท่ากันขนาดของกลุ่ม ตัวอย่างจะมีขนาดใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู่กับขนาดของประชากร ในแต่ละกลุ่ม

More Related