1 / 89

สุขภาพดี...ที่แพทย์ควรมี

สุขภาพดี...ที่แพทย์ควรมี. ศาสตราจารย์ นพ. สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาต่อเนื่องของแพทย์ แพทยสภา. โครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตแพทย์ไทย. Healthy Doctors. โครงการสำรวจสุขภาวะของแพทย์ไทย. แพทย์ไทยอายุสั้นจริงหรือ ?. โครงการรณรงค์รักษ์สุขภาพโดยใช้ “แพทย์” เป็นต้นแบบ.

ardith
Download Presentation

สุขภาพดี...ที่แพทย์ควรมี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สุขภาพดี...ที่แพทย์ควรมีสุขภาพดี...ที่แพทย์ควรมี ศาสตราจารย์ นพ. สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาต่อเนื่องของแพทย์ แพทยสภา

  2. โครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตแพทย์ไทยโครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตแพทย์ไทย Healthy Doctors

  3. โครงการสำรวจสุขภาวะของแพทย์ไทยโครงการสำรวจสุขภาวะของแพทย์ไทย แพทย์ไทยอายุสั้นจริงหรือ? โครงการรณรงค์รักษ์สุขภาพโดยใช้ “แพทย์” เป็นต้นแบบ

  4. Thai population 0 23 70 75 แพทย์ไทยมีอายุสั้นจริงหรือ? ปี พ.ศ.2545 ค่าอายุคาดเฉลี่ย Thai doctors ค่าอายุตายเฉลี่ย 55 53 23 Male Female ความสมบูรณ์ของทะเบียนแพทย์ 92 %

  5. โครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตแพทย์ไทยโครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตแพทย์ไทย • Phase I: สำรวจปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาวะในแพทย์ไทย (1.5 ปี) • Phase II: งานวิจัยเชิงลึกเพื่อศึกษาปัจจัยที่แพทย์มีอายุยืน (1 ปี) • Phase III: • Intervention and Health Promotion (1 ปี) • Dissemination to Public (3 ปี)

  6. แหล่งทุนวิจัย • Phase I: สกว. และ สสส. • Phase II:สกว. และ สสส. • Phase III: สสส.

  7. Target population • Total 30,000 doctors • Growth rate 1,500 doctors/yr • Death rate 60-100 doctors/yr

  8. แพทย์ที่เสียชีวิตแล้วแพทย์ที่เสียชีวิตแล้ว Retrospective study Demographic data Causes of death Possible predisposing factors Methodology I แพทย์ที่มีชีวิตอยู่ • Cross-sectional study • Demographic data • Health-Risk factors • Possible predisposing factors Set priority Working groups

  9. โครงการสำรวจปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพของแพทย์ไทยโครงการสำรวจปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพของแพทย์ไทย ศ. นพ. สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล ศ. นพ. พรชัย สิทธิศรัณย์กุล นพ. ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน นพ. สุธีร์ รัตนะมงคลกุล พญ. นวพรรณ ผลบุญ พญ. หรรษา รักษาคม

  10. แพทย์ที่เสียชีวิตแล้วแพทย์ที่เสียชีวิตแล้ว

  11. การศึกษาการเสียชีวิตของแพทย์ไทย ในระหว่างปี พ.ศ. 2535-2544

  12. ทะเบียนราษฎร์ 260 (99%) 156 104 2 แหล่งข้อมูล แพทยสภา พบฐานข้อมูล 149 (56%) ตรงกับการสำรวจ 105 ไม่ตรงกับการสำรวจ 44 ไม่พบฐานข้อมูล 113

  13. การเสียชีวิตของแพทย์ไทย ในระหว่างปี พ.ศ. 2535-2544 • สาเหตุตายในผู้มีอายุมาก คือ หัวใจ มะเร็ง ไตวาย • สาเหตุตายในผู้มีอายุน้อย คือ อุบัติเหตุ ฆ่าตัวตาย และถูกฆาตกรรม

  14. การเสียชีวิตของแพทย์ไทย ในระหว่างปี พ.ศ. 2535-2544 • แพทย์เสียชีวิต 262 ราย อายุตายเฉลี่ย 61.15 ±17.84 ปี • แพทย์ชาย 225 คน คิดเป็นร้อยละ 85.9 อายุตายเฉลี่ย 62.1 ปี • แพทย์หญิง 37 คน คิดเป็นร้อยละ 14.1 อายุตายเฉลี่ย 55.4 ปี

  15. ) ต่อแสนประชากร ( อัตราตาย อัตราตายของแพทย์ไทยพ.ศ. 2541-2545 ประชากรแพทย์ ประชากรไทย 7000 6000 5000 4000 3000 2000 1000 0 ช่วงอายุ 23 - 24 25 + 30 + 35 + 40 + 45 + 50 + 55 + 60 + 65 + 70 +

  16. อายุคาดเฉลี่ยแพทย์ไทย2541-2545อายุคาดเฉลี่ยแพทย์ไทย2541-2545 อายุคาดเฉลี่ย (ปี) ประชากรไทย แพทย์ไทย 120 95 . 5 93 . 1 100 91 . 8 91 . 2 90 . 7 90 . 3 89 . 8 89 . 4 89 . 6 89 . 1 86 . 5 80 89 . 0 87 . 2 85 . 7 84 . 6 83 . 6 82 . 7 81 . 9 81 . 0 79 . 9 78 . 9 76 . 2 60 40 20 0 ช่วงอายุ 23 - 24 25 + 30 + 35 + 40 + 45 + 50 + 55 + 60 + 65 + 70 +

  17. อายุคาดเฉลี่ยแพทย์ไทยอายุคาดเฉลี่ยแพทย์ไทย เมิ่อจบทำงานเป็นแพทย์ พ.ศ.2541- 2545 86 . 5 ปี 88 86 84 76 . 2 82 80 78 76 74 72 70 ประชากรไทย แพทย์ไทย

  18. Years of Life Lost of Thai population at the year 2000 8000 2,500,000 7000 2,000,000 6000 5000 1,500,000 4000 1,000,000 3000 2000 500,000 1000 0 0 23 + 25 + 30 + 35 + 40 + 45 + 50 + 55 + 60 + 65 + 70 + ช่วงอายุ

  19. แพทย์ฆ่าตัวตาย

  20. Psychological Autopsyในแพทย์ผู้เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย นายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน และคณะ สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา • คุณรู้หรือไม่ • เหตุอะไรทำให้แพทย์ฆ่าตัวตายมากที่สุด? • ต้องป่วยทางจิตเท่านั้นหรือที่ฆ่าตัวตาย? • หมอสาขาไหนฆ่าตัวตายมากที่สุด? • พบคำตอบได้ใน.........

  21. Results • แพทย์ฆ่าตัวตาย 18 คน: ชาย 17 หญิง 1 • ส่วนใหญ่อายุ 25-35 ปี • ส่วนใหญ่เป็น GP และเป็นจิตแพทย์ถึง 3 ราย • มีประวัติการรักษาทางจิตเวชเพียง 3 ราย • มีปัญหาครอบครัว และปัญหาคนรัก พอๆ กัน • ส่วนใหญ่เป็น depressive disorder มีเพียง 1 รายเป็น Schizo • เป็น HIV positive เพียง 1 ราย

  22. แพทย์ที่มีชีวิตอยู่ การสำรวจภาวะสุขภาพแพทย์ไทย (ธันวาคม 2545- มีนาคม 2546)

  23. วัสดุและวิธีการ • สุ่มเลือกแพทย์อย่างเป็นระบบโดยวิธี systematic random sampling ทุก 60 คน ตามเลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม • ส่งแบบสอบถามไป 440 ฉบับ ได้รับกลับคืน 380 ฉบับ คิดเป็นอัตราตอบกลับร้อยละ 86.4

  24. ข้อมูลด้านวิชาชีพและประวัติการทำงานข้อมูลด้านวิชาชีพและประวัติการทำงาน • ส่วนใหญ่ยังทำเวชปฏิบัติ 363 คน (ร้อยละ 95.5) • มีความพอใจในวิชาชีพในระดับมาก 228 คน (ร้อยละ 60.2) ระดับต่ำร้อยละ 2.6 • เริ่มทำงานสังกัดรัฐบาลร้อยละ 93.6 ปัจจุบันทำงานสังกัดรัฐบาลร้อยละ 72.1 • ร้อยละ 29.4 ทำคลินิกส่วนตัว • ระยะเวลาทำงานเฉลี่ย 62.4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

  25. ความเจ็บป่วยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา • มีแพทย์ป่วย 189 คน ส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยไข้หวัดหรือโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน 136 คน • ประสบอุบัติเหตุทุกชนิด 37 คน เข็มตำ/ของมีคมบาด 5 คน • มีประวัติหลับในขณะขับรถ 57 คน (11 คนเคยมากกว่า 2 ครั้ง)

  26. ข้อมูลด้านการดูแลสุขภาพข้อมูลด้านการดูแลสุขภาพ • แพทย์ส่วนใหญ่เคยได้รับการตรวจสุขภาพร้อยละ 70 • พบทันตแพทย์ครั้งสุดท้าย นานกว่า 12 เดือนแล้ว ร้อยละ 36.1 • ปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจสุขภาพแล้วร้อยละ 48 • แพทย์ทำกรมธรรม์ประกันชีวิตร้อยละ 57.3

  27. Risk group I CPG Report to all doctors • Health Program • Nutrition • Sport • Relax Methodology Mass screening CPG CPG Risk group II Risk group III CPG Healthy doctors

  28. Diseases Grouping Voluntary basis ร่วมโครงการ ไม่ร่วมโครงการ ระวังปัจจัยเสี่ยง รายงาน เชิญชวน ส่งเสริม ปรับกลยุทธ์ SUMMARY

  29. เสียชีวิต (พ.ศ. 2535-2544) สูบบุหรี่ 39% ดื่มเหล้า 48% ออกกำลังกาย 62% ใช้ยานอนหลับ 12% มีชีวิตในปัจจุบัน สูบบุหรี่ 22% 6% ดื่มเหล้า 48% 27% ออกกำลังกาย 85% ใช้ยานอนหลับ 17% เปรียบเทียบพฤติกรรมเกี่ยวกับสุขภาพ มีชีวิตแพทย์จบใหม่ในปัจจุบัน • สูบบุหรี่ 6% 3% • ดื่มเหล้า 27% 13% • ออกกำลังกาย 45% • ใช้ยานอนหลับ ?%

  30. ตรวจสุขภาพประจำปี 47% ตรวจสุขภาพประจำปี 70% (จริงๆ ทำ 47%) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเฝ้าระวังด้านสุขภาพ เสียชีวิต (พ.ศ. 2535-2544) มีชีวิตในปัจจุบัน แพทย์จบใหม่ในปัจจุบัน • ตรวจสุขภาพประจำปี 49%

  31. อุบัติเหตุ 13% มะเร็งตับ 35% หัวใจและหลอดเลือด 28% พบ late stage CA = 51% ตรวจสุขภาพ 42% อุบัติเหตุช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา 10% (หลับใน 15%) สัมผัสเลือด 84% (ทุกวัน 24%) เฉลี่ยทำงาน 62.4 h/wk ทำงานเอกชน บริหาร และอายุ >50 ปี ตรวจสุขภาพ 47% เปรียบเทียบความเสี่ยง แพทย์จบใหม่ในปัจจุบัน เสียชีวิต (พ.ศ. 2535-2544) มีชีวิตในปัจจุบัน • ส่วนใหญ่ร้อยละ 83 ทำงานเกิน 80 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ • ประมาณร้อยละ 80 ทำงานนานกว่า 24 ชั่วโมงติดต่อกัน • ประสบอุบัติเหตุทั่วไปมากกว่า (9.2% vs 5.4%) • ประสบอุบัติเหตุจากการทำงานมากกว่า (10.3% vs 7.1%) • ตรวจสุขภาพ 49%

  32. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิต: จบใหม่ อยู่อีสาน ทำงาน 12-16 h/day ขับรถยนต์ ด้วยความเร็ว 105 kg/h Potential life loss: อุบัติเหตุ • ปัจจัยหนุนแพทย์จบใหม่: • อยู่เวรมากเกินไป • อ่อนล้า 100% • หลับใน 30-40% • ทำงานนอก รพ. น้อยกว่า 5% • ทำงานเฉลี่มากกว่า 80 h/wk • ปัจจัยหนุนขณะที่ยังมีชีวิต: • อุบัติการณ์ประมาณ 20% ต่อปี • หลับใน 15% • งานมากกว่า 1 แห่งเพื่อเพิ่ม รายได้ • ทำงานเฉลี่ย 62.4 h/wk

  33. เสียชีวิต (พ.ศ. 2535-2544) ไม่เคยรักษาทางจิตเวช 60% อายุ <45 ปี มีชีวิตในปัจจุบัน วินิจฉัยยากมาก เครียดมากขึ้น ชาย 7% หญิง 9.4% SUICIDE in Thai Doctors แพทย์จบใหม่ • เครียดมากขึ้น ชาย 22% หญิง 33% • มักเกิดความรู้สึกหลังทำการรักษาแล้วยังมีวิธีอื่นที่ดีกว่า (88% vs 79%)

  34. ด้านลบ อุบัติเหตุช่วง 6 เดือน ด้านบวก อายุมากขึ้น ได้ออกกำลังกาย (รายได้มาก) ความพึงพอใจต่อวิชาชีพแพทย์ (60%)

  35. Allergy 21% Hypertension 11% Asthma 3.4% DM 3% CA 2% Heart dz 1.3% Hyperlipidemia 1% Hepatitis 1% แพทย์ที่มีชีวิต มีโรคอะไรบ้าง บิดามารดาของแพทย์ แพทย์ • Allergy 3-5% • Hypertension 25-32% • Asthma 2-3% • DM 15% • CA 6-8% • Heart dz 10-12% • Hyperlipidemia 1% • Hepatitis 0.5%

  36. Allergy 21% Hypertension 11% Asthma 3.4% DM 3% CA 2% Heart dz 1.3% Hyperlipidemia 1% Hepatitis 1% แพทย์ที่มีชีวิต มีโรคอะไรบ้าง ประมาณจำนวนแพทย์ที่ป่วย แพทย์ • Allergy 5,770 คน • Hypertension 3,022 คน • Asthma 934 คน • DM 824 คน • CA 550 คน • Heart dz 357 คน • Hyperlipidemia 274 คน • Hepatitis 274 คน

  37. หมายเลขบัตรประชาชน 13 หลัก วันเกิด มีเพียง 60% ที่กรอก สถานที่ทำงาน ต้องมีประวัติบันทึกไว้ และ update ตลอดต่อเนื่อง สาขาเฉพาะทาง Life style (เพื่อทำ Historical cohortstudy) ปัจจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพ เสียชีวิต ต้องเก็บข้อมูลสุดท้าย สาเหตุการตาย ปัจจัยด้านสุขภาพ ลีลาชีวิต ฯลฯ การปรับฐานข้อมูลแพทยสภาในอนาคต

  38. ประชาชน โรคหัวใจ มะเร็ง ติดเชื้อ อุบัติเหตุ ชรา แพทย์ มะเร็ง โรคหัวใจ อุบัติเหตุ ติดเชื้อ ชรา สาเหตุการเสียชีวิตของประชาชน vs แพทย์ไทย

  39. What’s next?

  40. When doctors are patients! • Delayed diagnosis • Delayed treatment • High self-confidence • Jump to conclusion • No CPG for them • Inappropriate management: expensive • Bad clinical outcomes

  41. เอาตัวรอดได้ • ขาดจิตสำนึกด้านส่งเสริมสุขภาพ • สูญเสียทรัพยากรบุคคล • ระบบสุขภาพแห่งชาติล้มเหลว ปล่อยตามยถากรรม • เข้าถึงกรอบแนวคิดด้านสุขภาพ • ปลูกจิตสำนึกเพื่อสร้างสุขภาพ • รักษาและพัฒนาทรัพยากรบุคคล • เป็นผู้นำสร้างระบบสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Choices แพทย์

  42. แพทย์ไทยจำนวน 31,000 คน 33% GP 67% Specialist

  43. หมอ

  44. คนไข้ โรคหัวใจ โรคหู โรคเครียด โรคอ้วน โรคเบาหวาน

  45. หมอ หู

  46. โรคหัวใจ โรคหู โรคเครียด โรคอ้วน โรคเบาหวาน หู

  47. โรคหัวใจ โรคหู โรคเครียด โรคอ้วน โรคเบาหวาน

  48. โรคหัวใจ โรคหู โรคเครียด โรคอ้วน โรคเบาหวาน

More Related