1 / 54

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสำหรับครู

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสำหรับครู. นวัตกรรม และเทคโนโลยีการศึกษา. ความหมายของนวัตกรรม. “ นวัตกรรม (Innovation) ” เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า Innovare แปลว่า to renew หรือ to modify ได้มีนักการศึกษา ได้ให้ความหมายไว้ หลากหลาย ได้แก่. ทอมัส ฮิวช์ (Thomasl Hughes).

aran
Download Presentation

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสำหรับครู

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสำหรับครูนวัตกรรมและเทคโนโลยีสำหรับครู

  2. นวัตกรรม และเทคโนโลยีการศึกษา ความหมายของนวัตกรรม “นวัตกรรม (Innovation)” เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า Innovareแปลว่า to renew หรือ to modify ได้มีนักการศึกษา ได้ให้ความหมายไว้หลากหลายได้แก่ Company Logo

  3. ทอมัส ฮิวช์(Thomasl Hughes) ความหมายของนวัตกรรม “เป็นการนำวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นขั้น ๆ แล้ว โดยเริ่มมาตั้งแต่การคิดค้น(Invention)พัฒนาการ (Development) ซึ่งอาจจะเป็นไปในรูปของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) แล้วจึงนำไปปฏิบัติจริง ซึ่งมีความแตกต่างไปจากการปฏิบัติเดิมที่เคยปฏิบัติมา และเรียกว่า นวัตกรรม (Innovation)” Company Logo

  4. มอร์ตัน(Morton, J.A.) ความหมายของนวัตกรรม “การทำให้ใหม่ขึ้นอีกครั้ง (Renewal) ซึ่งหมายถึงการปรับปรุงของเก่า และการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์การนั้น ๆ นวัตกรรมไม่ใช่การขจัด หรือล้มล้างสิ่งเก่าให้หมดไป แต่เป็นการปรับปรุงเสริมแต่ง และพัฒนาเพื่อความอยู่รอดของระบบ” Company Logo

  5. ไชยยศ เรืองสุวรรณ ความหมายของนวัตกรรม “วิธีการปฏิบัติใหม่ ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลอง พัฒนามาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น” Company Logo

  6. นวัตกรรม คืออะไร การนำสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมวิธีการที่ทำอยู่เดิมเพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น กระทรวง ศึกษาธิการ Innovation นวัตกรรม = ผู้นำสิ่งใหม่มาใช้ Innovator = นวัตกร = การก่อสร้าง นวกรรม, นวการ, นวกิจ = ผู้ดูแลการก่อสร้าง นวกรรมมิก = Company Logo

  7. นวัตกรรมเป็นวิธีการปฏิบัติใหม่ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้น หรือการปรับปรุงเสริมแต่งของเก่า และสิ่งเหล่านี้ได้รับการทดลองและพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้ ทำให้ระบบบรรลุจุดมุ่งหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ(อัญชลี โพธิ์ทอง และคณะ) ตรงกับศัพท์บัญญัติทางวิชาการ ที่ว่า : นวัตกรรมหมายถึงการนำสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมวิธีการที่ทำอยู่เดิมโดยผ่านการทดลองเพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น ความหมายของ “นวัตกรรม” : สรุป Company Logo

  8. เทคโนโลยีสมัยใหม่ (ในปัจจุบัน) Company Logo

  9. Company Logo

  10. Company Logo

  11. Company Logo

  12. จำแนกได้ 4 ประการ ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) ความพร้อม (Readiness) การใช้เวลาเพื่อการศึกษา การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม แนวคิดพื้นฐานที่ส่งผลต่อนวัตกรรมการศึกษา Company Logo

  13. แผนการศึกษาของชาติ ให้มุ่งจัดการศึกษาตามความถนัด ความสนใจ และความสามารถของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ เช่น การจัดระบบห้องเรียนโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์ หรือใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์ นวัตกรรมที่เกิดขึ้น ได้แก่ การเรียนแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded School) แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book) เครื่องสอน (Teaching Machine) การสอนเป็นคณะ (Team Teaching) การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล(Individual Different) Company Logo

  14. แนวคิดเดิมเชื่อกันว่า เด็กจะเริ่มเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซึ่งเป็นพัฒนาการตามธรรมชาติ ปัจจุบันการวิจัยทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ ชี้ให้เห็นว่าความพร้อมในการเรียนเป็นสิ่งที่สร้างขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียนให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่เคยเชื่อว่ายาก และไม่เหมาะสมสำหรับเด็กเล็ก ก็สามารถนำมาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมที่เกิดขึ้น ได้แก่ ศูนย์การเรียน (Learning Center) การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School) การปรับปรุงการสอนสามชั้น (Instructional Development in 3 Phases) 2. ความพร้อม (Readiness) Company Logo

  15. การจัดเวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอนในรูปแบบเก่า มักจัดโดยอาศัยความสะดวกเป็นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็นชั่วโมง เท่ากันทุกวิชาทุกวัน และจัดเวลาเรียนเอาไว้แน่นอน ปัจจุบันมีความคิดในการจัดเป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับลักษณะของแต่ละวิชา ซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงสั้น ๆ แต่สอนบ่อยครั้ง การเรียนก็ไม่จำกัดอยู่แต่เฉพาะในโรงเรียนเท่านั้น นวัตกรรมที่เกิดขึ้น ได้แก่ การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling) มหาวิทยาลัยเปิด (Open University) แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book) การเรียนทางไปรษณีย์ 3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา Company Logo

  16. ทำให้มีสิ่งต่าง ๆ ที่คนจะต้องเรียนรู้เพิ่มขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึงจำเป็นต้องแสวงหาวิธีการใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ทั้งในด้านปัจจัยเกี่ยวกับตัวผู้เรียน และปัจจัยภายนอก นวัตกรรมที่เกิดขึ้น ได้แก่ มหาวิทยาลัยเปิด การเรียนทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์ การเรียนทางไปรษณีย์ แบบเรียนสำเร็จรูป ชุดการเรียน 4. การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม Company Logo

  17. ความเจริญในด้านต่างๆ ที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าทดลองประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่าง ๆ โดยอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เมื่อศึกษาค้นพบและทดลองใช้ได้ผลแล้ว ก็นำออกเผยแพร่ใช้ในกิจการด้านต่าง ๆ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพในกิจการต่าง ๆ เหล่านั้น วิชาการที่ว่าด้วยการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในกิจการด้านต่าง ๆ จึงเรียกกันว่า "วิทยาศาสตร์ประยุกต์"หรือนิยมเรียกกันทั่วไปว่า "เทคโนโลยี" (Technology) ความหมายของ “เทคโนโลยี” Company Logo

  18. เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง กระบวนการผลิตการสร้างวิธีการดำเนินงาน เพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ ผู้ที่นำเอาเทคโนโลยีมาใช้ เรียกว่า นักเทคโนโลยี (Technologist) ความหมายของ “เทคโนโลยี” Company Logo

  19. นวัตกรรม และ เทคโนโลยี มักจะเขียนคู่กันเสมอ ใช้รวมเป็นคำเดียวคือ Innotech นวัตกรรม และ เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด นวัตกรรม เป็นเรื่องของการกระทำสิ่งใหม่ ซึ่งอยู่ในขั้นทดลอง ยังไม่เป็นที่ยอมรับในสังคม เทคโนโลยี เป็นเรื่องของการนำเอาสิ่งต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ การนำเอานวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ เรียกว่าเป็น เทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยีเพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ เรียกสิ่งใหม่ว่า นวัตกรรม นวัตกรรม และ เทคโนโลยี Company Logo

  20. นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH การใช้นวัตกรรม(Innovation)และเทคโนโลยี(Technology)ในการจัดการศึกษาคือใช้ในการเรียนการสอนถ้าใช้ทั้ง2อย่างร่วมกันด้วยการนำเอาเทคนิคและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆทางวิทยาศาสตร์มาใช้เรียก“INNOTECH”ซึ่งมาจากคำเต็มว่า“Innovation Technology”เป็นการนำเอาคำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้าด้วยกัน Company Logo

  21. นวัตกรรม และ เทคโนโลยี นวัตกรรม เทคโนโลยี Company Logo

  22. นวัตกรรม การพัฒนา (ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง) เทคโนโลยี เผยแพร่ ใช้เผยแพร่ในระบบปกติการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมและเทคโนโลยี Company Logo

  23. การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน • ในปัจจุบันการเรียนการสอนได้นำทฤษฏีการเรียนรู้ และหลักการมาใช้ เพื่อให้เกิดคุณภาพของการสอน การใช้วัสดุอุปกรณ์เข้าช่วยในการจัดการเรียนการสอนก็เป็นวิธีการที่ทำให้บทเรียนมีประสิทธิภาพ 4 ประการ คือ 1. ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ 2. ให้ผู้เรียนได้รับข้อมูลย้อนกลับอย่างฉับพลัน 3. ให้ผู้เรียนได้รับการเสริมแรง 4. ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เป็นขั้นตอนทีละน้อย Company Logo

  24. สื่อการเรียนการสอน Company Logo

  25. สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia) สื่อมัลติมีเดีย คือ  การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมซอฟต์แวร์ในการสื่อความหมายโดยการผสมผสานสื่อหลายชนิด เช่น ข้อความ กราฟิก (Graphic) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound)  และวีดิทัศน์ (Video) เป็นต้น สื่อต่างๆ ที่นำมารวมไว้ในสื่อมัลติมีเดีย เช่น ภาพ เสียง วีดิทัศน์ จะช่วยให้เกิดความหลากหลายในการใช้คอมพิวเตอร์อันเป็นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในแนวทางใหม่ที่ทำให้การใช้คอมพิวเตอร์น่าสนใจ และเร้าความสนใจ เพิ่มความสนุกสนานในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น Company Logo

  26. การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเสริมการเรียนการสอนการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเสริมการเรียนการสอน ประเภทของนวัตกรรมสื่อ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (Courseware) เนื้อหาดิจิทัล (Digital Content) สื่อมัลติมีเดียระบบเรียนรู้ด้วยตนเอง สื่อการสอนลักษณะ PowerPoint คอมพิวเตอร์ช่วยสอน Company Logo

  27. ประเภทของสื่อ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (Courseware)หมายถึง เนื้อหาและเทคนิคการเรียนรู้ที่ถูกแปลงให้อยู่ในลักษณะของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อรูปแบบปฏิสัมพันธ์ที่เผยแพร่ทั้งในลักษณะเชิงพาณิชย์และให้บริการดาวน์โหลด บทเรียนที่พัฒนาด้วยAuthoring Tools เช่น Toolbook หรือ AuthorWare บทเรียนที่นำเสนอรูปแบบ Online และ Offline หนังสือ/วารสารอิเล็กทรอนิกส์ จัดทำในรูปแบบ Acrobat เทปเสียงดิจิทัล/วิดีทัศน์ดิจิตอล Company Logo

  28. รูปแบบของสื่อ Courseware 1 เอกสารการฝึกอบรม 2 สื่อมัลติมีเดียระบบเรียนรู้ด้วยตนเอง 3 สื่อการสอนในรูป PowerPoint Company Logo

  29. สื่อมัลติมีเดียระบบการเรียนรู้ด้วยตนเองสื่อมัลติมีเดียระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประกอบด้วย เนื้อหา รูปภาพ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ผสมผสานรวมกันพร้อมระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ พัฒนาจากโปรแกรมสร้างสื่อเช่น Macromedia, Authorware,Flash Company Logo

  30. เนื้อหาดิจิทัล (Digital Content) เนื้อหาสาระสื่อประสมที่นักเรียนสามารถค้นหาและรวบรวมเป็นข้อมูลในการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย วีดิทัศน์ ซีดีรอม เว็บไซต์ อีเมล์ ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ สถานการณ์จำลองในคอมพิวเตอร์ การอภิปรายโต้ตอบไฟล์ข้อมูล ฐานข้อมูล และเสียง Company Logo

  31. สื่อการสอนในลักษณะของ PowerPoint หลักการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียและสื่อ PowerPoint มีรูปแบบการนำเสนอที่โดดเด่น น่าสนใจ ใช้ฟอนต์ที่ได้มาตรฐาน ขนาดเหมาะสม มีมาตรฐานเดียวกันทั้งสื่อ มีระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ที่เหมาะสม มีความถูกต้องตามหลักภาษาไทย Company Logo

  32. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นขบวนการเรียนการสอนโดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ โดยตรงและเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) สามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ Company Logo

  33. องค์ประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การเสนอสิ่งเร้าใจให้กับผู้เรียน การประเมินการตอบสนองกับผู้เรียน การให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง การให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลำดับต่อไป Company Logo

  34. ลักษณะของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การนำเสนอเป็นตอนสั้นๆ มีการโต้ตอบกับผู้เรียน มีบททบทวน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ควรใช้สื่อเพื่อสร้างแรงจูงใจ ความมั่นใจในการเรียนรู้ แบบฝึกปฏิบัติและแบบทดสอบ ควรมีการเสริมแรงเมื่อผู้เรียนตอบผิด Company Logo

  35. การจักทำบทเรียนควร คำนึงถึงส่วนประกอบดังนี้ บทนำเรื่อง (Title) คำชี้แจงบทเรียน (Instruction) วัตถุประสงค์บทเรียน (Objective) รายการเมนูหลัก (Main Menu) แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) เนื้อหาบทเรียน (Information) แบบทดสอบท้ายบทเรียน (Post test) บทสรุปและการนำไปใช้งาน (Summary) Company Logo

  36. สื่อหลายมิติ (Hypermedia) เทคโนโลยีของการอ่านและการเขียนที่ไม่เรียงลำดับเนื้อหากัน นำเสนอลักษณะ ข้อความ ภาพ หรือภาพกราฟิก และมีการเชื่อมโยงกัน จุดมุ่งหมายของการใช้สื่อหลายมิติ • ใช้เป็นเครื่องมือในการสืบค้น (Browsing) • ใช้เพื่อการเชื่อมโยง (Linking) • ใช้ในการสร้างบทเรียน (Authoring) Company Logo

  37. บทเรียนบนเว็บ (Web Based Instruction : WBI) WBI(Web-based Instruction) คือ บทเรียนที่สร้างขึ้นสำหรับการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยนำจุดเด่นของวิธีการให้บริการข้อมูลแบบ www มาประยุกต์ใช้ Web Base Instruction จึงเป็นบทเรียนประเภท CAI แบบ On-line คำว่า On-line ในที่นี้หมายความว่า ผู้เรียนเรียนอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ที่ติดต่อผ่านเครือข่ายกับเครี่องแม่ข่ายที่บรรจุบทเรียน หากเป็นบทเรียนสำหรับการฝึกอบรม เรียกว่า WBT (Web Based Training หรือเราอาจจะเรียกการเรียนการสอนบนเว็บโดยรวมๆ ว่า WBL (Web Based Learning) Company Logo

  38. การเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ (Web Based Learning : WBI) ลักษณะเด่น คือ ผู้เรียนสามารถเรียนเวลาใดหรือสถานที่ใดก็ได้ Company Logo

  39. ข้อดี ข้อเสียของการเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ (WBI) ข้อดี ติดต่อสื่อสารรวดเร็ว ไม่จำจัดเวลาสถานที่ ผู้เรียนและผู้สอนไม่ต้องพบกันในห้องเรียน ผู้เรียนและผู้สอนไม่ต้องการเรียนและสอนเวลาเดียวกัน ผู้กล้าตอบคำถาม และตั้งคำถามมากขึ้น โดยอาศัย E-mail chat อื่นๆ • ข้อเสีย • ไม่สามารถรับรู้ความรู้สึก ปฏิกิริยาที่แท้จริงของผู้เรียนและผู้สอน • ไม่สามารถสื่อถึงความรู้สึก อารมณ์ในการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง • ผู้เรียนและผู้สอนจะต้องมีความพร้อมในการใช้คอมพิวเตอร์ • ผู้เรียนบ้างคนไม่สามารถศึกษาด้วยตนเองได้ Company Logo

  40. ประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ (WBI) เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน สนับสนุนการเรียนการสอน เกิดเครือข่ายความรู้ เน้นการเรียนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ลดช่องว่างระหว่างเมืองกับท้องถิ่น Company Logo

  41. การศึกษาทางไกล (Distance Learning : D-learning) คือ การถ่ายทอดความรู้ ทักษะและประการณ์ต่างๆ ผ่านสื่อ โดยผู้เรียนและผู้สอนไม่ต้องพบกันเป็นประจำ โดยถ่ายทอดความรู้ผ่านสื่อ หนังสื่อพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ เทปเสียง วีดิทัศน์ คอมพิวเตอร์และสื่ออื่นๆ Company Logo

  42. การศึกษาทางไกล (Distance Learning : D-learning) Company Logo

  43. อีเลิร์นนิ่ง(Electronics Learning : E-learning) e-Learningคือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำเข้าสู่ตลาดเมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning)การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอผ่านออนไลน์ เป็นต้น Company Logo

  44. อีเลิร์นนิ่ง(Electronics Learning : E-learning) Company Logo

  45. เอ็มเลิร์นนิ่ง(Mobile Learning : M-learning)  m-Learning (mobile learning)  คือ การจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสำเร็จรูป (Instruction Package)ที่นำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีไร้สาย (wireless telecommunication network)และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่และทุกเวลา โดยไม่ต้องเชื่อมต่อโดยใช้สายสัญญาณผู้เรียนและผู้สอนใช้เครื่องมือสำคัญ คือ อุปกรณ์ประเภทเคลื่อนที่ได้โดยสะดวกและสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยไม่ต้องใช้สายสัญญาณแบบเวลาจริงได้แก่  Notebook Computer, Portable computer, Tablet PC, Cell  Phones ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน Company Logo

  46. เอ็มเลิร์นนิ่ง(Mobile Learning : M-learning) Company Logo

  47. ยูเลิร์นนิ่ง(Ubiquitous Learning: U-learning) Ubiquitous Learning  คือ การจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสำเร็จรูป (Instruction Package) ที่นำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีเครือข่ายทั้งแบบใช้สายและไร้สาย รวมไปถึงพวกอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการประมวลผลแบบไร้ขอบเขต ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่และทุกเวลา  ที่จริงแล้ว น่าจะมาจากคำว่า Ubiquitous e-learning แต่ e- ได้ถูกตัดหายไป เนื่องจากเป็นการเรียนรู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิต ซึ่งเกี่ยวพันธ์กับวิธีการเรียนหลากหลายแบบรวมกัน ทั้งแบบดังเดิมและการใช้เทคโนโลยีด้านสารสนเทศด้วย เป็นการเรียนรู้แบบไร้ขอบเขต สามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้ทุกหนทุกแห่งสภาพแวดล้อมที่สามารถใช้คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับเครือข่ายไม่ว่าจะอยู่ในที่แห่งใด Company Logo

  48. ห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) การเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้ช่องทางของระบบการสื่อสารและอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตเข้าไปเรียนในเว็บไซต์ ที่ออกแบบกระบวนการเรียนการสอนให้มีสภาพแวดล้อมคล้ายกับเรียนในห้องเรียนแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและผู้เรียนกับผู้เรียน โดยมีบรรยากาศเสมือนพบกันจริง กระบวนการเรียนการสอนจึงไม่ใช่การเดินทางไปเรียนในห้องเรียนแต่เป็นการเข้าถึงข้อมูลเนื้อหาของบทเรียนได้โดยผ่านคอมพิวเตอร์ Company Logo

  49. ห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) Company Logo

  50. สื่อการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนเป็นตัวกลางซึ่งมีความสำคัญในกระบวนการเรียนการสอนมีหน้าที่เป็นตัวนำความต้องการของครูไปสู่ตัวนักเรียนอย่างถูกต้องและรวดเร็ว เป็นผลให้นักเรียนเปลี่ยน,แปลงพฤติกรรมไปตามจุดมุ่งหมายการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สื่อการสอนได้นำไปใช้ในการเรียนการสอนตลอด และยังได้รับการพัฒนาไปตาการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งก้าวหน้าไปไม่หยุดยั้ง นักการศึกษาเรียกชื่อการสอนด้วยชื่อต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์การสอน โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีการศึกษา สื่อการเรียนการสอน สื่อการศึกษาเป็นต้น  Company Logo

More Related