530 likes | 610 Views
กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา. รศ.พญ.เสาวรัตน์ เอื้อเพิ่มเกียรติ 30 ต.ค.52. ข้อมูลอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยา. ขณะนี้ลาศึกษาต่อ 2 คน เหลือ 24 คน. ภาระงานสอน. 1. ระดับก่อนปริญญา. เป็นผู้ประสานงานหลักรายวิชา 364-351 , 364-101
E N D
กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยากิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา รศ.พญ.เสาวรัตน์ เอื้อเพิ่มเกียรติ 30 ต.ค.52
ข้อมูลอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยาข้อมูลอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยา ขณะนี้ลาศึกษาต่อ 2 คน เหลือ 24 คน
ภาระงานสอน 1. ระดับก่อนปริญญา • เป็นผู้ประสานงานหลักรายวิชา 364-351, 364-101 • ร่วมสอนใน Block ต่างๆ ชั้นคลินิก และปรีคลินิก ภาระงานสอน ปี 2551
การเรียนการสอน 2. ระดับหลังปริญญา • หลักสูตร ป.บัณฑิต/board training สาขาพยาธิวิทยากายวิภาค • หลักสูตร ป.บัณฑิต/board training สาขาพยาธิวิทยาคลินิก
สื่อการเรียนการสอนแบบ E-Learning • Anatomical Pathology : Case of the Month • Surgico-Radio-Pathological Case Conference • CAI • VDO streaming
Introductionความรู้ทางด้านพยาธิวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานที่จำเป็นและสำคัญทางการแพทย์ เปรียบเสมือนลำต้นของต้นไม้ ในการเชื่อมโยงความรู้ทางด้าน basic science อันเปรียบเหมือนราก เข้ากับกิ่งก้านสาขา อันได้แก่ ความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ ในทางการแพทย์ อาทิ อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ เป็นต้น วิชาพยาธิวิทยาช่วยเสริมสร้าง ความเข้าใจภาวะหรือโรคในผู้ป่วยที่พบเจอในชีวิตประจำวัน บุคลากรทางการแพทย์ที่เข้าใจในพยาธิกำเนิด และพยาธิสภาพของโรคเป็นอย่างดีนั้น จะทำให้สามารถให้การดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ มากกว่าการท่องจำ ซึ่งมีโอกาสที่จะลืมได้ง่ายภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาแพทย์เรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านสื่อต่างๆ ทั้งตำรา วารสาร และข้อมูลบนอินเตอร์เนต โดยที่แหล่งความรู้ทางพยาธิวิทยาบนอินเตอร์เนตนั้น เกือบทั้งหมดเป็นของมหาวิทยาลัยในต่างประเทศดังนั้น ภาควิชาพยาธิวิทยาจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปรีคลินิกที่ต้องเรียนวิชาพยาธิวิทยา และนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิคที่ต้องการทบทวน ความรู้เดิมที่เคยเรียนมาแล้ว รวมทั้งบุคลากรทางการแพทย์ที่สนใจท่านอื่นด้วย โดยจะมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนเนื้อหาทุกเดือน
การประชุมวิชาการร่วมระหว่างภาควิชาศัลยศาสตร์ ภาควิชารังสีวิทยา และภาควิชาพยาธิวิทยา หรือ Surgico- Radio-Pathological conference (SRP) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดให้มีขึ้น เป็นประจำทุกวันศุกร์ สัปดาห์สุดท้ายของเดือน เวลา 8.15 น. ณ ห้องประชุมภาควิชาศัลยศาสตร์ ชั้น 1 ตึก อายุรกรรม- ศัลยกรรม เพื่อนำเสนอผู้ป่วยทางศัลยกรรมที่น่าสนใจ มีการอภิปรายร่วมระหว่างอาจารย์แต่ละภาควิชา เพื่ออธิบาย และสรุปโรคของผู้ป่วย เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องเวลา ภาระหน้าที่การรักษาพยาบาล และระบบ rotation ของนักศึกษาแพทย์ แพทย์ใช้ทุน และแพทย์ประจำบ้าน ทำให้ผู้สนใจบางส่วนไม่สามารถเข้าร่วมประชุมในวันและเวลาดังกล่าวได้ ประกอบกับ การเรียนรู้สมัยใหม่นั้น การเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง และการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ได้อย่างสะดวก นับว่าเป็นสิ่งจำเป็น อย่างยิ่ง ดังนั้น ทางผู้ประสานงานของภาควิชาดังกล่าวได้มีความเห็นตรงกันว่า การประชุมวิชาการ SRP นี้น่าจะได้มีการ เผยแพร่ ให้กับบุคลากรผู้สนใจทั้งภายในและภายนอกคณะที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมในเวลาดังกล่าว ได้มีโอกาสเรียนรู้ร่วมกัน
Editor: อ.สมรมาศ กันเงิน Co-editor: อ.ถาวรเด่นดำรงทรัพย์ Co-editor: อาจารย์ภาคฯศัลย์
ผลการประเมิน Anatomical Pathology Case of the Month ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้ตอบแบบประเมิน 49 คน
ผลการประเมิน Anatomical Pathology Case of the Month จำนวน%
ผลการประเมิน Surgico-Radio-Pathological Case Conference ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้ตอบแบบประเมิน (จำนวน 69 คน)
ผลการประเมิน Surgico-Radio-Pathological Case Conference จำนวน(%)
CAI สรุปบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาควิชาพยาธิวิทยา
บทเรียน CAI ของภาควิชาพยาธิวิทยา และจำนวนการใช้ของนักศึกษาแพทย์
บทเรียน CAI ของภาควิชาพยาธิวิทยา และจำนวนการใช้ของนักศึกษาแพทย์
สรุปผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาควิชาพยาธิวิทยาของนักศึกษาแพทย์ ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม 2550 – 1 ตุลาคม 2552 จำนวนครั้งที่เข้า
แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning ต่อไป เป้าหมาย จัดทำสื่อการเรียนการสอนแบบ E-learning อย่างน้อยสาขาละ 1 เรื่อง/ปี สาขาพยาธิวิทยาคลินิก พยาธิวิทยากายวิภาค และนิติเวชศาสตร์และพิษวิทยา
แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning รูปแบบ • เนื้อหา เป็นความรู้ตามรายวิชาที่สอนในชั้นปรีคลินิกและคลินิก • เน้นให้มีตัวอย่าง case , lab interpretation • คำถาม –พร้อมอธิบายเฉลยท้ายบทเรียน • มีการประเมินผลบทการเรียนรู้ • มีการประเมินสื่อโดยผู้ใช้
แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning
VDO streaming ของอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยา