1 / 8

โครงการจัดทำระบบประเมินคุณภาพบัณฑิต ระดับปริญญาตรี ผ่านเครือข่าย ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การประชุมชี้แจง :. โครงการจัดทำระบบประเมินคุณภาพบัณฑิต ระดับปริญญาตรี ผ่านเครือข่าย ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. โดย นางสาวพัชนี ลีลาดี หัวหน้างานวิจัยสถาบันและสารสนเทศ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 30 กันยายน 2556. แนวคิด หลักการ และเหตุผล. ปัญหา.

Download Presentation

โครงการจัดทำระบบประเมินคุณภาพบัณฑิต ระดับปริญญาตรี ผ่านเครือข่าย ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมชี้แจง : • โครงการจัดทำระบบประเมินคุณภาพบัณฑิต • ระดับปริญญาตรี ผ่านเครือข่าย • ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดย นางสาวพัชนี ลีลาดี หัวหน้างานวิจัยสถาบันและสารสนเทศ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 30 กันยายน 2556

  2. แนวคิด หลักการ และเหตุผล ปัญหา • ผู้สำเร็จการศึกษามีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี แต่ต้องเร่งดำเนินการภายใต้ระยะเวลาที่มีจำกัด • การติดตามสถานที่ทำงานของบัณฑิตมีความยุ่งยาก เนื่องจากข้อมูลสถานที่ทำงานไม่ชัดเจน อีกทั้งบัณฑิตบางส่วนไม่ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลสถานที่ติดต่อ จึงส่งผลให้เก็บ รวบรวมข้อมูลจากผู้ใช้บัณฑิตในเวลาต่อมาจัดทำได้น้อยลง • กองแผนงานไม่สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ตามเงื่อนไขที่ สมศ. กำหนดไว้ คือ 20% ของผู้สำเร็จ การศึกษา แนวคิด กองแผนงานจึงได้ขออนุมัติมหาวิทยาลัยจัดทำระบบประเมินคุณภาพบัณฑิตผ่านทางเครือข่ายขึ้น เพื่อปรับปรุงกระบวนการจัดทำให้มีความรวดเร็ว เพิ่มความสะดวกและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น โดยได้รับ ความอนุเคราะห์จากสำนักบริการคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ระบบดังกล่าวยังต้องอาศัยความร่วมมือจากคณะ ภาควิชาเป็นแรงขับเคลื่อนในการติดตามสถานภาพข้อมูลแบบสำรวจความพึงพอใจของนายจ้าง เพื่อให้ได้ จำนวนตามที่กำหนด

  3. สถิติการจัดส่งและจัดเก็บแบบสำรวจสถิติการจัดส่งและจัดเก็บแบบสำรวจ

  4. แนวคิด หลักการ และเหตุผล หลักการ นำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และศักยภาพของระบบเครือข่าย มาสนับสนุนและพัฒนา กระบวนการสร้างเครื่องมือในการดำเนินงานหลัก 3 ส่วน ได้แก่ 1. ส่วนการตรวจสอบ/แก้ไขข้อมูลสถานที่ทำงานและนายจ้างของผู้สำเร็จการศึกษา 2. ส่วนการบันทึก/แก้ไขข้อมูลแบบสำรวจความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อบัณฑิต 3. ส่วนการรายงานผล ซึ่งประกอบด้วยรายงานสถานภาพการบันทึกข้อมูล และการติดตาม แบบสำรวจ รายงานผลการประเมินซึ่งรายงานผลการประเมินได้แบบเรียลไทม์ (Real time) และระบบส่งออกข้อมูลในรูปแบบตาราง Excel เพื่อความสะดวกของการใช้งานในรูปแบบอื่นๆ • วัตถุประสงค์ของโครงการ •  เพื่อปรับปรุงกระบวนการจัดทำการประเมินคุณภาพบัณฑิต ให้มีความรวดเร็ว • และถูกต้องมากยิ่งขึ้น •  เพื่อสร้างเครื่องมือในการติดตามสถานภาพข้อมูลแบบสำรวจความพึงพอใจ • ของนายจ้างที่มีต่อบัณฑิตให้แก่คณะ •  เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลภาวะการได้งานทำ ข้อมูลที่อยู่สถานที่ทำงานของบัณฑิต • และข้อมูลนายจ้างให้มีความสมบูรณ์ครบถ้วน ถูกต้อง

  5. ขั้นตอน 1. การหารือถึงปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ระหว่างกองแผนงาน และสำนักบริการคอมพิวเตอร์ 2. การวางแผนกำหนดขอบเขตและแนวทางการจัดทำระบบประเมินคุณภาพบัณฑิต ฯ • 3. การสร้างแบบสำรวจที่ใช้ประเมินคุณภาพบัณฑิต ระดับปริญญาตรีให้ครอบคลุมดัชนีการประเมิน • คุณภาพบัณฑิตของ สมศ. • 4. การออกแบบหน้าจอหลักของระบบประเมินคุณภาพบัณฑิต ใน ๓ ส่วน คือ • หน้าจอบันทึกข้อมูลแบบสำรวจคุณภาพบัณฑิต ระดับปริญญาตรี • หน้าจอรายงานผลออนไลน์ ซึ่งประกอบด้วยรายงานสถานภาพการบันทึกข้อมูลและการติดตามแบบสำรวจ • และรายงานคะแนนการประเมินของผู้ใช้บัณฑิต • หน้าจอตรวจสอบ/แก้ไขข้อมูลสถานที่ทำงานและข้อมูลนายจ้างของผู้สำเร็จการศึกษา

  6. ขั้นตอน 5. การจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานเพื่อตั้งต้นระบบ (ข้อมูลสถานที่ทำงานของบัณฑิต) • 6. การจัดทำระบบประเมินคุณภาพบัณฑิต พร้อมทั้งตรวจสอบ ทดสอบระบบ และ ปรับปรุงแก้ไข • ประกอบด้วย • ระบบตรวจสอบ/แก้ไขข้อมูลสถานที่ทำงานและข้อมูลนายจ้างของผู้สำเร็จการศึกษา • ระบบบันทึกข้อมูลแบบประเมิน • ระบบรายงานผลออนไลน์ • การส่งออกข้อมูลและรายงานในรูปแบบ Excel • ระบบการจัดการผู้ใช้ (User Management) • 7. การชี้แจงให้วิทยาเขต คณะและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อรับทราบแนวคิดและการทำงานของระบบ 8. การปรับปรุงและแก้ไขหลังการเปิดใช้ระบบแล้ว โดยสำรวจปัญหา ความต้องการของผู้ใช้งานระบบ

  7. ระบบประเมินคุณภาพบัณฑิต ระดับปริญญาตรี ระบบฐานข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษาและภาวะการหางานทำของบัณฑิต การขึ้นทะเบียนรับพระราชทานปริญญา ประมวลผลออนไลน์ 1. ตรวจสอบข้อมูลสถานที่ทำงาน(จากฐานข้อมูล) 2. ยืนยันสถานที่ทำงาน ชื่อ ตำแหน่งของผู้ใช้บัณฑิต(จากตัวบัณฑิต) ประมวลผลออนไลน์ ระบบฐานข้อมูลผู้ใช้บัณฑิต DOWNLOAD DATA • สถานที่ทำงานบัณฑิต • แบบประเมิน คำถามเพื่อการประเมิน • กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ • อัตลัษณ์ • ความพึงพอใจ • คุณลัษณะที่ต้องการ • 1 จัดทำบันทึกข้อความอนุเคราะห์ตอบแบบ สอบถามจากผู้ใช้บัณฑิต • 2.จัดทำแบบสอบถาม พร้อมชื่อที่อยู่ผู้ใช้บัณฑิต • 3. ส่งออกแบบสอบถามไปถึงผู้ใช้บัณฑิต รายงานผลออนไลน์ • รายงานสถานภาพการบันทึกข้อมูลเทียบกับ 20% ของผู้สำเร็จการศึกษา • - รายงานคะแนนการประเมิน แบบสอบถามที่ผู้ใช้บัณฑิตส่งกลับ ระบบประเมินคุณภาพบัณฑิต ระดับปริญญาตรี

  8. แผนภาพแสดงขั้นตอนในระบบประเมินคุณภาพบัณฑิต ระดับปริญญาตรี : ช่วงขั้นตอนการประสานงานระหว่างกองแผนงาน และคณะ กองแผนงาน คณะ • จัดส่งออกแบบสอบถามไปถึงผู้ใช้บัณฑิต โดยให้ส่งกลับไปที่คณะ สัปดาห์ที่ 1 เดือนตุลาคม สัปดาห์ที่ 2 เดือนตุลาคม • เปิดระบบประเมินคุณภาพบัณฑิตระดับปริญญาตรีผ่านครือข่าย • รวบรวมแบบสอบถาม และบันทึกข้อมูลในระบบประเมินฯ สัปดาห์ที่ 3 เดือนตุลาคม •  ส่งแบบสอบถามที่ตีกลับให้คณะ เพื่อดำเนินการติดตามซ้ำ •  ตรวจสอบผลการส่งกลับแบบสอบถาม ให้เทียบกับ 20 % • จากจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา 25 ตุลาคม : วันสุดท้ายที่ผู้ใช้บัณฑิตส่งแบบสอบถามคืนให้แก่คณะ • ส่งคืนแบบสอบถามที่บันทึกแล้วให้แก่กองแผนงาน (รอบที่ 1) •  ตรวจสอบผลการส่งกลับแบบสอบถามเทียบกับ 20 % • จากจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา •  ประสานงานและติดตามผลการจัดเก็บแบบสอบถาม • ประสานงานบัณฑิตที่ยังไม่ส่งแบบ สอบถามกลับและติดตาม • ข้อมูลเพิ่มเติม • รวบรวมแบบสอบถาม และบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมให้ได้จำนวน • แบบสอบถามครบ 20 % จากจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา 30 พฤศจิกายน : วันสุดท้ายของการติดตามแบบสอบถามและปิดระบบบันทึกข้อมูล • ตรวจสอบผลการส่งกลับแบบสอบถาม ว่าถึงกับ 20 % • จากจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา •  เขียนรายงานวิเคราะห์คุณภาพบัณฑิต ระดับปริญญาตรี • ตรวจสอบสถิติการส่งกลับแบบสอบถาม ให้ถึงกับ 20 % จากจำนวน • ผู้สำเร็จการศึกษา • ส่งกลับแบบสอบถามที่บันทึกแล้วให้แก่กองแผนงาน (รอบที่ 2)

More Related